๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
มีนาคม 29, 2024, 10:12:55 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 154 155 156 [157] 158 159 160 ... 166
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ความรู้เรื่องเรือรบและอาวุธทางน้ำ  (อ่าน 458380 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #2340 เมื่อ: สิงหาคม 15, 2018, 06:58:43 PM »

รูปครับ
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #2341 เมื่อ: สิงหาคม 16, 2018, 09:36:13 AM »

http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=32&chap=5&page=t32-5-infodetail06.html
           การแบ่งเขตทางทะเล  ตามอนุสัญญาองค์การสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้แบ่งเขตทางทะเลออกเป็นส่วนต่างๆ รวม ๖ ส่วน ดังนี้
          ๑) น่านน้ำภายใน หมายถึง น่านน้ำที่อยู่ภายในเส้นฐาน เช่น อ่าว ปากแม่น้ำ ทะเลสาบ รัฐชายฝั่งมีอำนาจอธิปไตย เหนือน่านน้ำภายใน ทำนองเดียวกันกับที่มีเหนือดินแดนซึ่งเป็นพื้นแผ่นดิน
          ๒) ทะเลอาณาเขต หมายถึง อาณาเขตทางทะเลของรัฐชายฝั่ง ที่วัดความกว้างออกจากเส้นฐาน ตามที่รัฐชายฝั่งได้กำหนดขึ้น ไม่เกิน ๑๒ ไมล์ทะเล โดยรัฐชายฝั่ง มีอำนาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขตของตน และอำนาจอธิปไตยนี้ ครอบคลุมไปถึงห้วงอากาศ เหนือพื้นท้องทะเล และใต้ผิวพื้นท้องทะเลของทะเลอาณาเขตนั้นๆ ด้วย
          ๓) เขตต่อเนื่องเป็นเขตที่อยู่ต่อเนื่องจากเส้นขอบนอกของทะเลอาณาเขต ออกไปอีก ๑๒ ไมล์ทะเล ในเขตต่อเนื่องนี้ รัฐชายฝั่งมีอำนาจในการควบคุมเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังนี้
ป้องกันมิให้มีการฝ่าฝืนกฎหมาย และข้อบังคับว่าด้วยศุลกากร การเข้าเมือง รัษฎากร และสุขาภิบาล อันจะทำให้เกิดในดินแดน หรือในทะเลอาณาเขตของตน และลงโทษผู้กระทำฝ่าฝืนกฎหมายและข้อบังคับดังกล่าว
คุ้มครองวัตถุโบราณหรือวัตถุทางประวัติศาสตร์ที่อยู่บนพื้นทะเลในเขตต่อเนื่อง
          ๔) เขตเศรษฐกิจจำเพาะมีความกว้างไม่เกิน ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน ซึ่งรัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยในการสำรวจ แสวงประโยชน์ อนุรักษ์ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ส่วนกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับทางเศรษฐกิจ เช่น การเดินเรือ การบิน ไม่ตกอยู่ในสิทธิอธิปไตย ของรัฐชายฝั่ง
          ๕) ไหล่ทวีปประกอบด้วยพื้นทะเล และใต้ผิวพื้นของพื้นที่ใต้น้ำ ซึ่งยืดขยายจากทะเลอาณาเขตไปจนถึงขอบ ที่ด้านนอกสุดของทวีปที่มีน้ำลึกไม่เกิน ๒๐๐ เมตร หรือที่ระยะ ๒๐๐ ไมล์ทะเลจากเส้นฐาน ซึ่งใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขต ในกรณีที่ริมขอบของทวีปยืดขยายออกไป ไม่ถึงระยะดังกล่าว
ตามกฎหมายทะเล รัฐชายฝั่งมีสิทธิอธิปไตยเหนือทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งบน และใต้ผิวพื้นไหล่ทวีป ไม่ว่าจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ส่วนรัฐอื่นๆ ยังมีสิทธิ ที่จะวางสายเคเบิล หรือท่อทางใต้ทะเลบนไหล่ทวีปนั้นได้ โดยต้องได้รับความยินยอม จากรัฐชายฝั่งก่อน
          ๖) ทะเลหลวง หมายถึง ส่วนของทะเลที่มิใช่ส่วนหนึ่งของเขตเศรษฐกิจจำเพาะ ทะเลอาณาเขต หรือน่านน้ำภายใน โดยทุกรัฐมีเสรีภาพในการใช้ทะเลหลวง เพื่อการเดินเรือ การบิน การวางสายเคเบิลและท่อทางใต้ทะเล การประมง การสร้างเกาะเทียม และสิ่งติดตั้งอื่นๆ รวมทั้งการค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: สิงหาคม 16, 2018, 09:40:20 AM โดย R2D2 » บันทึกการเข้า
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #2342 เมื่อ: สิงหาคม 17, 2018, 09:31:19 AM »

รูปครับ
  ดูแล้วในอนาคต อาจมีการใช้กำลังกันในอนาคต แน่ครับ
บันทึกการเข้า

R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #2343 เมื่อ: สิงหาคม 17, 2018, 09:43:51 AM »

รูปครับ
ดูแล้วในอนาคต อาจมีการใช้กำลังกันในอนาคต แน่ครับ
สหรัฐ ฯ เทกำลังทางทะเลมาแปซิฟิคแล้ว ให้ความสำคัญสูงกว่าทุกภูมิภาค
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #2344 เมื่อ: สิงหาคม 20, 2018, 07:17:54 AM »

เรียกแขกชัดๆหลายประเทศกำลังจะส่งกองเรือมา Pacific บ้างอีกหน่อยเมืองท่าเวียตนาม ฟิลิปินส์คึกคักแน่
จีนรู้ตัวว่าถูก Blockage ทางทะเลได้ง่ายแทนที่จะทำตัวให้น่ารักออกแนวก้าวร้าวซะนี่ลงทุนทางทหารไปเยอะเดี๋ยวหมุนไม่ทันยิ่งมีปัญหาหนี้เสียๆอยู่
วันก่อนฝูง B-52 เพิ่งออกไปบินเล่น
บันทึกการเข้า
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #2345 เมื่อ: สิงหาคม 20, 2018, 12:42:39 PM »

เรียกแขกชัดๆหลายประเทศกำลังจะส่งกองเรือมา Pacific บ้างอีกหน่อยเมืองท่าเวียตนาม ฟิลิปินส์คึกคักแน่
จีนรู้ตัวว่าถูก Blockage ทางทะเลได้ง่ายแทนที่จะทำตัวให้น่ารักออกแนวก้าวร้าวซะนี่ลงทุนทางทหารไปเยอะเดี๋ยวหมุนไม่ทันยิ่งมีปัญหาหนี้เสียๆอยู่
วันก่อนฝูง B-52 เพิ่งออกไปบินเล่น
 เวีบดนามมีเรือดำน้ำ 6 ลำ คงไว้ต่อรองกับจีน น่ะครับสู้ตรงๆไม่มีทางน่ะครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 05, 2018, 02:42:50 PM โดย ART » บันทึกการเข้า

Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #2346 เมื่อ: กันยายน 02, 2018, 12:23:58 AM »

6 ลำนี่จมเรือได้เยอะมากนะถ้าไม่ตรวจพบ ถ้าทะเลาะกันเรือพวกนี้จะตัดการขนส่งทางทะเลมากกว่าจะเอาไปรบกับเรือรบแบบเดียวกับที่เยอรมันทำสมัยสงคราม
รบกับเรือต้องเครื่องบินครับพวก SU นั่นแหละบินไกลบรรทุกเยอะ
บันทึกการเข้า
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #2347 เมื่อ: กันยายน 05, 2018, 10:20:27 AM »

เริ่มต้นการสร้างแล้วครับ S26T เครดิตรกระทู้ใน web thaifighter
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 05, 2018, 10:38:10 AM โดย ART » บันทึกการเข้า

Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #2348 เมื่อ: กันยายน 05, 2018, 04:17:26 PM »

เสร็จแล้วจะมีตังค์จ่ายไหม
อนาคตยังไม่แน่ลำที่ 2 3 อาจจะเป็นสัญชาติอื่น
บันทึกการเข้า
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #2349 เมื่อ: กันยายน 05, 2018, 07:53:27 PM »

เสร็จแล้วจะมีตังค์จ่ายไหม อนาคตยังไม่แน่ลำที่ 2 3 อาจจะเป็นสัญชาติอื่น
ถ้าเป็นเช่นนั้น..เครดิตล่ะครับ..คงไม่เหลือหลอ
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #2350 เมื่อ: กันยายน 06, 2018, 08:15:11 AM »

แว่วมาว่าตัวเรือจีนเครื่องในยุโรป เอาแบบ 421 422 มั้งปัจจุบันแม้แต่เหล็กของจีนยังถูกเปลี่ยน
บันทึกการเข้า
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #2351 เมื่อ: กันยายน 06, 2018, 08:59:09 AM »

แว่วมาว่าตัวเรือจีนเครื่องในยุโรป เอาแบบ 421 422 มั้งปัจจุบันแม้แต่เหล็กของจีนยังถูกเปลี่ยน
ดีครับ ให้กำลังใจ ทร.
บันทึกการเข้า

บูรพา - รักในหลวง
Sr. Member
****

คะแนน 65
ออฟไลน์

กระทู้: 752



« ตอบ #2352 เมื่อ: ตุลาคม 19, 2018, 09:06:29 AM »

 Grin

BMT สหราชอาณาจักร ผู้ให้บริการที่ปรึกษาด้านการออกแบบ, วิศวกรรม และบริหารจัดการความเสี่ยงระดับชั้นนำนานาชาติ ได้รับสัญญาจากกองทัพเรือไทย(RTN: Royal Thai Navy)
เพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยและพัฒนาสร้างเรือดำน้ำขนาดเล็ก(Midget Submarine) สำนักงานวิจัยและพัฒนาการทางทหารกองทัพเรือ สวพ.ทร. จากสำนักงานของตนใน Bath สหราชอาณาจักร
BMT อังกฤษได้รับสัญญาเพื่อให้การแนะนำแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการบริหาจัดการด้านวิศวกรรมเรือดำน้ำโดยเฉพาะเพื่อช่วยกองทัพเรือไทยลดความเสี่ยงให้น้อยที่สุดระหว่างขั้นตอนการออกแบบเรือดำน้ำ

ภาคธุรกิจความมั่นคงของสหราชอาณาจักรของ BMT ได้สนับสนุนกำลังกองเรือดำน้ำที่ประจำการในกองทัพเรือสหราชอาณาจักร(Royal Navy) และโครงการออกแบบเรือดำน้ำมาตั้งแต่ปี 1993
BMT ได้ทำหน้าที่ในฐานะผู้ใช้ขีดความสามารถการให้คำปรึกษาแก่ลูกค้าต่อรัฐบาลหลายประเทศทั่วโลก และยังสนับสนุนโครงการจัดหาเรือดำน้ำและการให้บริการระหว่างประจำการภายในประเทศจากสำนักงานของตนในออสเตรเลียและแคนาดา
สัญญาระหว่างกองทัพเรือไทยกับ BMT ได้รับการลงนามในเดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๖๑(2018) และการทำงานนี้มีกำหนดจะเสร็จสิ้นในไตรมาสที่๑ ปี พ.ศ.๒๕๖๒(2019)

นี่เป็นสัญญากลาโหมระดับรัฐบาลครั้งแรกที่ BMT สหราชอาณาจักรเป็นผู้ชนะในไทย และเป็นการใช้ขีดความสามารถที่ปรึกษาอิสระจากต่างประเทศโดยกองทัพเรือไทยเป็นครั้งแรก ตามที่กองทัพเรือไทยได้มองหาองค์ความรู้และประสบการณ์เฉพาะทางเพื่อค่อยๆพัฒนาขีดความสามารถการออกแบบเรือดำน้ำภายในประเทศไทยเอง
นาวาเอก ดอกเตอร์ สัตยา จันทรประภา หัวหน้าโครงการวิจัยและพัฒนาสร้างเรือดำน้ำขนาดเล็ก สวพ.ทร.ให้ความเห็นว่า "กองทัพเรือไทยมีความยินดีที่ได้แต่งตั้ง BMT เพื่อสนับสนุนก้าวย่างขั้นต้นนี้ในขั้นตอนการออกแบบ
เรามั่นใจว่าด้วยการให้คำปรึกษาของ BMT เราสามารถที่จะวางแผนที่จำเป็นและขั้นตอนให้เข้าที่ได้ เพื่อการจัดตั้งรากฐานที่มั่นคงสำหรับโครงการที่ท้าทายแต่น่าตื้นเต้นนี้"

James Woolford ผู้จัดการวิศวกรรมทางเรือของ BMT ให้ความเห็นว่า "BMT ภูมิใจที่ได้ชนะสัญญานี้กับกองทัพเรือไทยและมองไปข้างหน้าเพื่อนำความรู้และประสบการณ์ที่กว้างขวางมาประยุกต์ใช้ในโครงการออกแบบ, สร้าง และจัดหาทางเรือตลอดสาขาวิศกรรมหลักทั้งหมด
เรายังคงเคารพต่อความตั้งใจของกองทัพเรือไทยว่ากิจกรรมออกแบบควรจะต้องดำเนินการด้วยตัวเองทั้งหมด และเรามั่นใจว่าสามารถเพิ่มเติมมูลค่าได้อย่างมากผ่านการสนับสนุนที่อิสระและเชื่อถือได้
เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสัญญานี้ได้แสดงถึงการเริ่มต้นของความสัมพันธ์ระยะยาวกับกองทัพเรือไทยและนั่นจะยังนอกจากนี้ยังช่วยเพิ่มประวัติด้านขีดความสามารถทางกลาโหมของ BMT ท่ามกลางชาติที่มีเรือดำน้ำปฏิบัติการอื่นๆในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"

ก่อนหน้านี้ในงานนาวีวิจัย 2018 กองทัพเรือไทย ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๑(2018) นาวาเอก ดอกเตอร์ สัตยา จันทรประภา ได้เปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรี รัฐบาลไทย ได้อนุมัติงบประมาณราว ๑๙๓ล้านบาท สำหรับการศึกษาออกแบบเรือดำน้ำขนาดเล็ก ระยะเวลา ๔ปี
โดยโครงการวิจัยและพัฒนาการสร้างเรือดำน้ำขนาดเล็กกองทัพเรือไทย ได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๖๐ และคาดว่าเรือดำน้ำขนาดเล็กลำแรกที่ออกแบบและสร้างโดยกองทัพเรือไทยน่าจะเสร็จสิ้นโครงการได้ในปี พ.ศ.๒๕๖๗(2024)(http://aagth1.blogspot.com/2018/07/blog-post_20.html)
เป็นการต่อยอดจากโครงการที่มีก่อนหน้าทั้งยานใต้น้ำไร้คนขับสำหรับฝึกปราบเรือดำน้ำ(UUV: Unmanned Underwater Vehicle) ชื่อ ไกรทอง วิชุดา สุดสาคร ช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๖(2012-2013) และยานใต้น้ำขนาดเล็ก(Small Underwater Vehicle) ช่วงปี พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๘(2012-2015) ครับ


https://aagth1.blogspot.com/2018/10/bmt.html?m=1&fbclid=IwAR2U0Slo5D8dAAmaik_TKZZ_Xha1vJFwodJI-Lu7w2DIrJw3PKFfuc2bTNE
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #2353 เมื่อ: ตุลาคม 20, 2018, 06:49:48 PM »

ที่ไปเรียนกันมานี่เจ้านี้หรือเปล่า
บันทึกการเข้า
หนานมา
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 246
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1324



« ตอบ #2354 เมื่อ: ตุลาคม 24, 2018, 02:28:30 PM »

ที่ไปเรียนกันมานี่เจ้านี้หรือเปล่า

ที่ไปเรียนกันมาครั้งกระนู้นนนนนน  ระบบของเยอรมันครับ   ไหว้
บันทึกการเข้า

ใคร่หื้อเปิ้นฮักยากนัก จักหวัง ใคร่หื้อเปิ้นจังกำเดียวก็ได้
ใช้ของที่มี  มีของที่ใช้
หน้า: 1 ... 154 155 156 [157] 158 159 160 ... 166
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.062 วินาที กับ 22 คำสั่ง