๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
มีนาคม 29, 2024, 10:42:18 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 36 37 38 [39] 40 41 42 ... 271
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ความรู้เรื่องรถถัง-ยานเกราะ จรวด อาวุธทางบกครับ  (อ่าน 863497 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 4 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
รพินทรนาถ -รักในหลวงและสยามประเทศ
รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย คือสมบัติของผู้มีอารยธรรม
Hero Member
*****

คะแนน 239
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115



« ตอบ #570 เมื่อ: มีนาคม 14, 2011, 03:47:04 PM »

สมัยก่อนเคยมีผู้ใหญ่แนะนำว่า  อย่าใช้กระสุนทหารทุกชนิด เพราะจะแรงกว่ากระสุนพาณิชย์ Grin
ผมว่าในชั้นกระสุนปืนพกขนาด .45 ACP กับ 9 มม. ไม่น่ามีปัญหาเรื่องนี้แล้วนะครับน้าจอย  ไหว้

บันทึกการเข้า

...การที่เราทะนุถนอมคนที่เรารัก มันเป็นเรื่องปกติ
แต่การถนอมหัวใจคนที่เราไม่ได้รัก ใครจะทำได้สักกี่คน...

คิดถึงทุกปี-บินหลา สันกาลาคีรี
รพินทรนาถ -รักในหลวงและสยามประเทศ
รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย คือสมบัติของผู้มีอารยธรรม
Hero Member
*****

คะแนน 239
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115



« ตอบ #571 เมื่อ: มีนาคม 14, 2011, 03:54:41 PM »

แต่ผมอยากได้ปืนใหญ่อัตตาจรเพิ่มครับ  ถึงจะยิงไม่ได้ไกลเท่ากับจรวดหลายลำกล้องแต่ยิงซ้ำได้เร็วกว่า  กระสุนก็น่าจะถูกกว่าครับ   ไหว้
ราคากระสุนปืนใหญ่กับลูกจรวดของ จลก. เฉลี่ยแล้วบางครั้งก็พอๆกันครับ

แต่ในทางยุทธวิธีแล้วถ้าเน้นการยิงทำลายเป็นพื้นที่ จลก. จะได้เปรียบกว่าทั้งระยะยิง ความรวดเร็วในการยิง และความหนาแน่นของกระสุนต่อพื้นที่

แต่ถ้าเน้นเรื่องความแม่นยำ ยิงซ้ำได้เร็ว และเน้นเป้าหมายเจาะจงเป็นหลัก ปืนใหญ่จะได้เปรียบกว่า จลก. ในเรื่องนี้ครับ ซึ่งเราก็ต้องใช้อาวุธทั้ง 2 ชนิดนี้ร่วมกัน เพื่อเพิ่มจุดเด่นและลดจุดด้อยของอาวุธแต่ละชนิดอยู่ดีครับ  ไหว้
บันทึกการเข้า

...การที่เราทะนุถนอมคนที่เรารัก มันเป็นเรื่องปกติ
แต่การถนอมหัวใจคนที่เราไม่ได้รัก ใครจะทำได้สักกี่คน...

คิดถึงทุกปี-บินหลา สันกาลาคีรี
~ Sitthipong - รักในหลวง ~
"วาจาย่อมมีน้ำหนัก หากหนุนด้วยสรรพอาวุธ"
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 2953
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 23203



« ตอบ #572 เมื่อ: มีนาคม 14, 2011, 04:06:05 PM »

แต่ผมอยากได้ปืนใหญ่อัตตาจรเพิ่มครับ  ถึงจะยิงไม่ได้ไกลเท่ากับจรวดหลายลำกล้องแต่ยิงซ้ำได้เร็วกว่า  กระสุนก็น่าจะถูกกว่าครับ   ไหว้
ราคากระสุนปืนใหญ่กับลูกจรวดของ จลก. เฉลี่ยแล้วบางครั้งก็พอๆกันครับ

แต่ในทางยุทธวิธีแล้วถ้าเน้นการยิงทำลายเป็นพื้นที่ จลก. จะได้เปรียบกว่าทั้งระยะยิง ความรวดเร็วในการยิง และความหนาแน่นของกระสุนต่อพื้นที่

แต่ถ้าเน้นเรื่องความแม่นยำ ยิงซ้ำได้เร็ว และเน้นเป้าหมายเจาะจงเป็นหลัก ปืนใหญ่จะได้เปรียบกว่า จลก. ในเรื่องนี้ครับ ซึ่งเราก็ต้องใช้อาวุธทั้ง 2 ชนิดนี้ร่วมกัน เพื่อเพิ่มจุดเด่นและลดจุดด้อยของอาวุธแต่ละชนิดอยู่ดีครับ  ไหว้

งั้นเอา Caesar กับ DTI-1 เพิ่มอย่างละ ๑ กองพัน   หลงรัก  หวังว่าฝันคงเป็นจริง   Grin
บันทึกการเข้า



...ไม่มีใครทำขาวให้เป็นดำ  หรือทำผิดให้เป็นถูกได้ตลอด...
Southlander
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 5711
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 48210



« ตอบ #573 เมื่อ: มีนาคม 14, 2011, 05:12:00 PM »

ฮุน มาเนตร เหยียบศพคนไทย ทหาร/ชาวบ้านผู้บริสุทธิ์หวังผลงานขึ้นเป็นใหญ่
ถือว่าเป็นศัตรูของชาติตลอดกาลกำจัดได้ก็ต้องทำ...ในภายหน้าหากสืบทอดอำนาจ
พ่อได้ ก็คงต้องสร้างปัญหาให้เราตลอดไป...อย่าลืมว่าคนๆนี้..ฆ่าคนไทย
ผมมั่นใจว่าที่ เวสท์พ้อย สอนคนให้เป็น สุภาพบุรุษนักรบ แต่หมอนี่เป็นพวกแตกแถวลืมคำว่า สุภาพบุรุษนักรบ เสียสิ้น
บันทึกการเข้า

๏ทุกวันนี้ศึกไกลยังไม่ห่วง  แต่หวั่นทรวงศึกใกล้ไล่ข่มเหง
ถ้าคนไทยหันมาฆ่ากันเอง   จะร้องเพลงชาติไทยให้ใครฟัง
                      
                             โดย:นภาลัย สุวรรณธาดา พศ.๒๕๑๐
NaiMai>รักในหลวง
ไม่ว่าจะมีพร้อมทุกสิ่ง แต่ก็ยังไม่มีสิ่งใดเหนือกว่าความมีสติ
Hero Member
*****

คะแนน 741
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 14564


นายใหม่ รักหมู่


เว็บไซต์
« ตอบ #574 เมื่อ: มีนาคม 14, 2011, 09:16:08 PM »

คุณใหม่เคยได้ลองยิงกระสุน .45 ของ รวท. บ้างไหมครับ

ผมเคยลองยิงกล่องนึงของเพื่อน มันได้มา 3 กล่องเลยแบ่งให้ผม 1 กล่อง รีคอยล์นุ่มมือ กลุ่มกระสุนแน่นดี ไม่มีอาการติดขัดเลยสักนิด เสียอย่างเดียวว่าตั้งแต่นั้นมาหาซื้อไม่ได้เลย ไม่รู้ว่าเลิกผลิตขายเอกชนแล้วหรืออย่างไรกัน

 Grin ลองยิงกระสุนขนาดที่ใช้กับปืนพานิชย์ได้ของ รวท. มาทุกขนาดแล้วครับ เป็นกระสุนที่ดีมากเลย ความแม่นยำสูงมาก เขม่าน้อยมาก Grin


สมัยก่อนเคยมีผู้ใหญ่แนะนำว่า  อย่าใช้กระสุนทหารทุกชนิด เพราะจะแรงกว่ากระสุนพาณิชย์ Grin
ผมว่าในชั้นกระสุนปืนพกขนาด .45 ACP กับ 9 มม. ไม่น่ามีปัญหาเรื่องนี้แล้วนะครับน้าจอย  ไหว้

 Grin เป็นความเชื่อที่ผิดครับ 555 Grin
บันทึกการเข้า

Tarvor(รักในหลวง)
ชาว อวป. อิอิ
Sr. Member
****

คะแนน 36
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 812



เว็บไซต์
« ตอบ #575 เมื่อ: มีนาคม 15, 2011, 09:33:11 AM »

ขออนุญาตนะครับ
ทำไมเขาเรียกว่าเป็นกึ่งสำเร็จรูป ต้องเอาน้ำร้อนก่อนหรือเปล่าครับ Huh คิก คิก
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 15, 2011, 09:35:03 AM โดย Tarvor(รักในหลวง) » บันทึกการเข้า

เด็กดีในวันนี้ คือ ผู้ใหญ่ดีในวันหน้า
จอยฮันเตอร์
พระรามเก้า 15-28 E23 LLL
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 10196
ออฟไลน์

กระทู้: 47075


M85.ss


« ตอบ #576 เมื่อ: มีนาคม 15, 2011, 09:38:13 AM »

ขออนุญาตนะครับ
ทำไมเขาเรียกว่าเป็นกึ่งสำเร็จรูป ต้องเอาน้ำร้อนก่อนหรือเปล่าครับ Huh คิก คิก
ไม่ใช่มาม่านะไอ้น้อง ขำก๊าก
บันทึกการเข้า

SEEZ ..รักในหลวง..
Hero Member
*****

คะแนน 108
ออฟไลน์

กระทู้: 1452


« ตอบ #577 เมื่อ: มีนาคม 15, 2011, 11:59:14 AM »

ขออนุญาตนะครับ
ทำไมเขาเรียกว่าเป็นกึ่งสำเร็จรูป ต้องเอาน้ำร้อนก่อนหรือเปล่าครับ Huh คิก คิก
ไม่ใช่มาม่านะไอ้น้อง ขำก๊าก
  ขำก๊าก ขำก๊าก
บันทึกการเข้า
รพินทรนาถ -รักในหลวงและสยามประเทศ
รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย คือสมบัติของผู้มีอารยธรรม
Hero Member
*****

คะแนน 239
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1115



« ตอบ #578 เมื่อ: มีนาคม 20, 2011, 05:04:18 PM »

ขออนุญาตนะครับ
ทำไมเขาเรียกว่าเป็นกึ่งสำเร็จรูป ต้องเอาน้ำร้อนก่อนหรือเปล่าครับ Huh คิก คิก
อาจจะเป็นเพราะยังไม่ได้มีการผสมสารเคมีบางตัวเพื่อให้ผงดินขับสามารถใช้การได้ครับ เนื่องด้วยวิธีว่าด้วยความปลอดภัยในขณะขนส่งครับ  ไหว้
บันทึกการเข้า

...การที่เราทะนุถนอมคนที่เรารัก มันเป็นเรื่องปกติ
แต่การถนอมหัวใจคนที่เราไม่ได้รัก ใครจะทำได้สักกี่คน...

คิดถึงทุกปี-บินหลา สันกาลาคีรี
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #579 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 10:46:37 AM »

รถถังใหม่ของไทย เสียดายของเกาหลีเหมือนกันครับ เศร้า จากกระทู้ใน web thaifigtherclub  ครับ
จะมาแทน M41A3 ครับ
New Ukraine tanks leave soldiers riled

The armys decision to buy a new batch of about 200 main battle tanks from Ukraine has upset soldiers who prefer South Korean vehicles.


"The troops who will have to operate the vehicles do not want the Ukraine-made tanks because they are equipped with an auto-loader that requires the tanks to stop moving when ammunition has been used up and new loading is necessary," said an army source.

"This feature could become a problem when fighting in a war. Thats why operators prefer tanks with a manual ammunition-loading system."

An auto-loader is a mechanical aid that removes the need for personnel to load ammunition into weapons.

The army has resolved to replace its old US-made M41A3 tanks with about 200 new ones. Among the top choices were the K1 tank from South Korea and the T92 Oplot tank from Ukraine.

The procurement of 200 Ukraine-made tanks will cost about 7 billion baht, said the source.

The US tanks have been in commission in four cavalry battalions since 1962, just prior to international involvement in the Vietnam War, said the source.

The new tanks will be stationed at the 4th Cavalry Battalion (Royal Guard) in Bangkok, 8th Cavalry Battalion in Nakhon Ratchasima, 9th Cavalry Battalion in Phitsanulok and 16th Cavalry Battalion in Nakhon Si Thammarat.

It is believed the armys procurement committee of high-ranking military officers chose the Ukrainian supplier over the South Korean one because of its connections with the supplier, said the source.

The supplier is the same one that supplied the controversial 96 ! Ukrainia n-made BTR-3E1 armoured personnel carriers to the Royal Thai Armed Forces at a cost of almost 4 billion baht, the source said.

The tank procurement is part of the 10-year package of weapons purchases the government recently approved for the army.

The other choices proposed for consideration by the procurement committee included the Russian-made T-90 tank and the German-made Leopard 2 A4 tank. But the German tank was too expensive, said the source.
 

 

ที่มา : Bangkok Post



« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 26, 2011, 10:52:22 AM โดย ART รักในหลวง » บันทึกการเข้า

ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #580 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 10:58:04 AM »

 Smiley  ข้อมูลจากทหารม้าของไทยเกี่ยวกับรถถังคันนี้ครับ  

รถถังหลัก Oplot เป็นรถถังที่พัฒนามาจากรถถังหลัก T – 80UD โดย Kharkiv
Morozov Machine Building Design Bureau ซึ่งเป็นสำนักงานผลิต และออกแบบยานเกราะ
ชั้นนำของประเทศยูเครน รถถังหลัก Oplot เริ่มสายการผลิตในปีค.ศ. 2003 โดยในรุ่นนี้ได้
ออกแบบให้พลขับอยู่ตรงกลางทางด้านหน้าของตัวรถมีกล้องตรวจการณ์สำหรับขับในเวลา
กลางวันทางด้านหน้าจำนวน 3 กล้อง โดยกล้องตรวจการณ์ในเวลากลางวันตรงกลาง
สามารถถอดออกเปลี่ยนเป็นกล้องตรวจการณ์สำหรับขับในเวลากลางคืน มีช่องทางหนีใต้
ท้องรถอยู่ทางด้านหลังของพลขับ ห้องหอรบอยู่ทางด้านกลาง ผู้บังคับรถอยู่ทางด้านขวา
พลยิงอยู่ทางด้านซ้าย มีช่องทางเข้าออกของผู้บังคับรถ และพลขับบนดาดฟ้าของป้อมปืน
หนึ่งช่องทาง ติดตั้งปืนกลต่อสู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม. แบบ NSVT ทางด้านขวาของ
ป้อมปืนใหญ่รถถัง ควบคุมการยิงโดยใช้ Remote control

คุณลักษณะมาตราทานของ รถถังหลัก BM OPLOT
พลประจำรถ 3 นาย
อาวุธหลัก ปืนใหญ่ ขนาด 125 มม. ลำกล้องเรียบ บรรจุ
กระสุนได้ทั้งระบบอัตโนมัติหรือบรรจุด้วยมือ
1 กระบอก
อาวุธรอง ปืนกลร่วมแกน ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก
ปืนกลต่อสู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม.
1 กระบอก
เครื่องยิงลูกระเบิดควัน ขนาด 80 มม.
12 ท่อยิง
กระสุน กระสุนปืนใหญ่ ขนาด 125 มม. 40 นัด
กระสุนปืนกลร่วมแกน ขนาด 7.62 มม.
1250 นัด
กระสุนปืนกลต่อสู้อากาศยาน ขนาด 12.7 มม.
540 นัด
ความยาว 7.705 เมตร
ความกว้าง 3.59 เมตร
ความสูง 2.21 เมตร
น้ำหนักพร้อมรบ 51 ตัน +3%
น้ำหนักกดพื้น 0.93 กก./ตร.ซม.
อัตราส่วนกำลัง/น้ำหนัก 24.7 แรงม้า/ตัน
เครื่องยนต์ผลิตโดยประเทศยูเครน 6TD 2 เครื่องยนต์ แบบ Multi-fuel, 6 สูบ
Double Stroke, ระบายความร้อนด้วยน้ำ
เครื่องเปลี่ยนความเร็ว แบบ Mechanical, Planetary เกียร์เดินหน้า
7 ตำแหน่ง เกียร์ถอยหลัง 1 ตำแหน่ง
ความเร็วสูงสุด บนถนน 69.3 กม./ชม.
ในภูมิประเทศ 40 - 45 กม./ชม.

ระยะปฏิบัติการ
บนเส้นทางในภูมิประเทศ 350 กม.
ใช้ถังน้ำมันสำรอง 450 กม.
บนถนนพื้นแข็ง 400 กม.
ใช้ถังน้ำมันสำรอง 500 กม.
ความจุถังน้ำมัน ( ติดตั้งในตัวรถ ) 1,140 ลิตร
ข้ามเครื่องกีดขวางสูง 1 เมตร
ข้ามคูกว้าง 2.85 เมตร
การลุยข้ามน้ำลึก 1.8 เมตร ( ไม่มีการเตรียมการ )
5 เมตร ( มีการเตรียมการ )
ไต่ลาดตรง 62 %
ไต่ลาดข้าง 46 %
เครื่องหาระยะด้วยเลเซอร์ ( LRF ) มี
เครื่องวัดความเร็วลมทางข้าง Wind sensor แบบ Capacity-type รุ่น DVE-BS
เครื่องวัดมุมเอียงของดุมรับปืน Cant sensor
ระบบป้องกัน นชค. มี
ประเทศที่เข้าประจำการ ประเทศยูเครน
*****************************************************
เรียบเรียงโดย กองวิทยาการ ศูนย์การทหารม้า
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 26, 2011, 11:39:42 AM โดย ART รักในหลวง » บันทึกการเข้า

ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #581 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 11:24:17 AM »

ไปหาจาก you tube มาให้ชมกันครับ
Tank OPLOT-M vs Tank Leopard 2
บันทึกการเข้า

colt1911
Full Member
***

คะแนน 12
ออฟไลน์

กระทู้: 137



« ตอบ #582 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 12:47:18 PM »

สรุปแล้วทัพบกเอา Oplot แล้วหรือครับ  ไหว้ ไหว้ ไหว้
บันทึกการเข้า
ART
ชีวิตคิดบวก แล้วจะ Happy
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 552
ออฟไลน์

กระทู้: 10816



« ตอบ #583 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 02:57:57 PM »

สรุปแล้วทัพบกเอา Oplot แล้วหรือครับ  ไหว้ ไหว้ ไหว้
 สงสัยเหมือนกันครับ แล้ว M41A3 เจ้าคุณปู่ สภาพของเรายังดีอยู่เลยน่านำไป up gate ในประเทศและหน้าไปประจำ 3 จังหวัดภาคใต้นะครับ คิก คิก ไหว้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มีนาคม 26, 2011, 02:59:58 PM โดย ART รักในหลวง » บันทึกการเข้า

soveat ชุมไพร
มือสังหารคันคากหมุ่น พรานปลาวัด พราน28k สมช. เลขที่ 1475
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 3429
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 30132


เลือดกรุ๊ป โอละนออออออออออออ


เว็บไซต์
« ตอบ #584 เมื่อ: มีนาคม 26, 2011, 03:14:25 PM »

ได้ของหมีน้อยจริงๆด้วย... Grin Grin น้ำลายหก น้ำลายหก

ผมว่าเหมาะแล้วครับ  ถึงจะปฏิบัติการในภูมิประเทศได้แค่350ก.ม.  แต่สมัยนี้แล้วเหลือเฟือ  ปืนหลักขนาด 125ม.ม. พอๆกับเซซาร์  มันก็เหมือนปืนใหญ่อัตตราจรดีๆนี่เอง  เกราะรถถังเดี๋ยวนี้ต่อให้เป็นเกราะปฏิกิริยาแบบอาบรามห์ก็เหอะ โดนเข้าไปก็หงายท้องหงายใส้เหมือนกัน... Grin
บันทึกการเข้า

จะปิดทอง หลังองค์ พระปฏิมา
หน้า: 1 ... 36 37 38 [39] 40 41 42 ... 271
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.075 วินาที กับ 22 คำสั่ง