๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
มีนาคม 29, 2024, 08:59:18 PM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เรื่องนี้สมาชิกปืนไม่เห็นด้วยแน่  (อ่าน 9134 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
somkeat rtmc-love king
Full Member
***

คะแนน 19
ออฟไลน์

กระทู้: 301



« ตอบ #30 เมื่อ: กรกฎาคม 12, 2016, 11:31:52 PM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 12, 2016, 11:34:25 PM โดย somkeat rtmc-love king » บันทึกการเข้า

ไม่ฆ่าน้อง ไม่ฟ้องนาย ไม่ขายเพื่อน
หนึ่งนัด หนึ่งชีวิต
Jr. Member
**

คะแนน 43
ออฟไลน์

กระทู้: 85



« ตอบ #31 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 08:28:20 AM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ
ทุกวันนี้ สังคมเราตัวใครตัวมัน
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #32 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 10:24:35 AM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ

กฎหมายไทย  เจ้าพนักงานจะวิสามัญฆาตกรรมได้เฉพาะการป้องกันตัวเอง (ยกเว้นผู้คุมเรือนจำ ที่ยิงนักโทษหลบหนีได้)   แต่การฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น   จะเป็นคดีฆาตกรรมตามปกติ   หมายถึงเจ้าพนักงานผู้นั้น  ต้องถูกดำเนินคดีอาญาเหมือนกับจำเลยทั่วไป   และในเมื่อเป็นการฆ่าโดยเจตนา เพื่อป้องกันผู้อื่นให้พ้นจากอันตราย    พนักงานอัยการก็จะต้องดำเนินการฟ้องคดีทุกกรณี  เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าเป็นการป้องกันผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง กับได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ หรือไม่   ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้ ก็น่วมละครับ   และจะไปโทษศาลก็ไม่ได้   ผู้พิพากษาท่านนั่งอยู่อยู่ในห้องพิจารณา  ไม่รู้ไม่เห็นว่าเรื่องเป็นมาอย่างไร จัดฉากกันมาหรือเปล่า  ท่านก็ต้องวินิจฉัยไปตามหลักฐานเบื้องต้นที่ปรากฏในขณะสั่งฟ้อง

เรื่องนี้ คงยังไม่สามารถแก้ไขได้   เพราะขนาดกฎหมายของเราตีกรอบไว้แคบปานนี้  เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ก็ยังเกิดการฆ่าตามบัญชีไปสองพันเจ็ดร้อยศพ   จับคนฆ่าไม่ได้ สรุปกันไปว่าฆ่าตัดตอนกันเองทุกราย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68  ผู้ใดต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
บันทึกการเข้า
Ro@d - รักในหลวง
รักเธอ.. ประเทศไทย
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 4087
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 20181


1 คัน 1 ชีวิตที่อิสระ มี G23 กาแฟอีก 1 เป็นเพื่อน


« ตอบ #33 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 11:28:56 AM »

อาจเป็นงานเขียน เพื่อเสนอตัว เป็นขี้ข้า ให้ คุณสมชาย มองเห็นหัวแล้วเรียกใช้งาน มั้ง
บันทึกการเข้า

วีระศักดิ์ รักในหลวงครับ
Website Sponsor
Full Member
****

คะแนน 43
ออฟไลน์

กระทู้: 221



« ตอบ #34 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 03:06:46 PM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ

กฎหมายไทย  เจ้าพนักงานจะวิสามัญฆาตกรรมได้เฉพาะการป้องกันตัวเอง (ยกเว้นผู้คุมเรือนจำ ที่ยิงนักโทษหลบหนีได้)   แต่การฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น   จะเป็นคดีฆาตกรรมตามปกติ   หมายถึงเจ้าพนักงานผู้นั้น  ต้องถูกดำเนินคดีอาญาเหมือนกับจำเลยทั่วไป   และในเมื่อเป็นการฆ่าโดยเจตนา เพื่อป้องกันผู้อื่นให้พ้นจากอันตราย    พนักงานอัยการก็จะต้องดำเนินการฟ้องคดีทุกกรณี  เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าเป็นการป้องกันผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง กับได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ หรือไม่   ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้ ก็น่วมละครับ   และจะไปโทษศาลก็ไม่ได้   ผู้พิพากษาท่านนั่งอยู่อยู่ในห้องพิจารณา  ไม่รู้ไม่เห็นว่าเรื่องเป็นมาอย่างไร จัดฉากกันมาหรือเปล่า  ท่านก็ต้องวินิจฉัยไปตามหลักฐานเบื้องต้นที่ปรากฏในขณะสั่งฟ้อง

เรื่องนี้ คงยังไม่สามารถแก้ไขได้   เพราะขนาดกฎหมายของเราตีกรอบไว้แคบปานนี้  เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ก็ยังเกิดการฆ่าตามบัญชีไปสองพันเจ็ดร้อยศพ   จับคนฆ่าไม่ได้ สรุปกันไปว่าฆ่าตัดตอนกันเองทุกราย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68  ผู้ใดต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
...ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้....หมายความว่าถ้าไม่สามารถประกันตัวได้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกดำเนินคดีต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำจนกว่าจะมีคำพิพากษาออกมาหรือเปล่าครับ ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10057



« ตอบ #35 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 03:44:44 PM »

การกระทำพอสมควรแก่เหตุ แต่ไหนถึงสมควรครับ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #36 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 03:56:31 PM »

การกระทำพอสมควรแก่เหตุ แต่ไหนถึงสมควรครับ

Case by case ไม่มีสูตรสำเร็จครับ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #37 เมื่อ: กรกฎาคม 13, 2016, 04:01:05 PM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ

กฎหมายไทย  เจ้าพนักงานจะวิสามัญฆาตกรรมได้เฉพาะการป้องกันตัวเอง (ยกเว้นผู้คุมเรือนจำ ที่ยิงนักโทษหลบหนีได้)   แต่การฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น   จะเป็นคดีฆาตกรรมตามปกติ   หมายถึงเจ้าพนักงานผู้นั้น  ต้องถูกดำเนินคดีอาญาเหมือนกับจำเลยทั่วไป   และในเมื่อเป็นการฆ่าโดยเจตนา เพื่อป้องกันผู้อื่นให้พ้นจากอันตราย    พนักงานอัยการก็จะต้องดำเนินการฟ้องคดีทุกกรณี  เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าเป็นการป้องกันผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง กับได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ หรือไม่   ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้ ก็น่วมละครับ   และจะไปโทษศาลก็ไม่ได้   ผู้พิพากษาท่านนั่งอยู่อยู่ในห้องพิจารณา  ไม่รู้ไม่เห็นว่าเรื่องเป็นมาอย่างไร จัดฉากกันมาหรือเปล่า  ท่านก็ต้องวินิจฉัยไปตามหลักฐานเบื้องต้นที่ปรากฏในขณะสั่งฟ้อง

เรื่องนี้ คงยังไม่สามารถแก้ไขได้   เพราะขนาดกฎหมายของเราตีกรอบไว้แคบปานนี้  เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ก็ยังเกิดการฆ่าตามบัญชีไปสองพันเจ็ดร้อยศพ   จับคนฆ่าไม่ได้ สรุปกันไปว่าฆ่าตัดตอนกันเองทุกราย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68  ผู้ใดต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
...ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้....หมายความว่าถ้าไม่สามารถประกันตัวได้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกดำเนินคดีต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำจนกว่าจะมีคำพิพากษาออกมาหรือเปล่าครับ ขอบคุณครับ

โดยหลักการแล้วใช่
แต่ในทางปฏิบัติคงไม่เกิดขึ้น เพราะถ้าเรื่องเคลียร์พอสมควร อัยการก็คงไม่คัดค้าน และศาลน่าจะกำหนดหลักประกันไม่สูง ผบช.ใช้ตำแหน่งประกันตัวให้ได้
บันทึกการเข้า
somkeat rtmc-love king
Full Member
***

คะแนน 19
ออฟไลน์

กระทู้: 301



« ตอบ #38 เมื่อ: กรกฎาคม 14, 2016, 11:07:06 PM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ

กฎหมายไทย  เจ้าพนักงานจะวิสามัญฆาตกรรมได้เฉพาะการป้องกันตัวเอง (ยกเว้นผู้คุมเรือนจำ ที่ยิงนักโทษหลบหนีได้)   แต่การฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น   จะเป็นคดีฆาตกรรมตามปกติ   หมายถึงเจ้าพนักงานผู้นั้น  ต้องถูกดำเนินคดีอาญาเหมือนกับจำเลยทั่วไป   และในเมื่อเป็นการฆ่าโดยเจตนา เพื่อป้องกันผู้อื่นให้พ้นจากอันตราย    พนักงานอัยการก็จะต้องดำเนินการฟ้องคดีทุกกรณี  เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าเป็นการป้องกันผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง กับได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ หรือไม่   ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้ ก็น่วมละครับ   และจะไปโทษศาลก็ไม่ได้   ผู้พิพากษาท่านนั่งอยู่อยู่ในห้องพิจารณา  ไม่รู้ไม่เห็นว่าเรื่องเป็นมาอย่างไร จัดฉากกันมาหรือเปล่า  ท่านก็ต้องวินิจฉัยไปตามหลักฐานเบื้องต้นที่ปรากฏในขณะสั่งฟ้อง

เรื่องนี้ คงยังไม่สามารถแก้ไขได้   เพราะขนาดกฎหมายของเราตีกรอบไว้แคบปานนี้  เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ก็ยังเกิดการฆ่าตามบัญชีไปสองพันเจ็ดร้อยศพ   จับคนฆ่าไม่ได้ สรุปกันไปว่าฆ่าตัดตอนกันเองทุกราย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68  ผู้ใดต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
...ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้....หมายความว่าถ้าไม่สามารถประกันตัวได้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่ถูกดำเนินคดีต้องเข้าไปอยู่ในเรือนจำจนกว่าจะมีคำพิพากษาออกมาหรือเปล่าครับ ขอบคุณครับ

โดยหลักการแล้วใช่
แต่ในทางปฏิบัติคงไม่เกิดขึ้น เพราะถ้าเรื่องเคลียร์พอสมควร อัยการก็คงไม่คัดค้าน และศาลน่าจะกำหนดหลักประกันไม่สูง ผบช.ใช้ตำแหน่งประกันตัวให้ได้
กระจ่างเลยครับท่าน  เหมือนรายหนุ่มพิการร้านขนมปังโดนแทงตาย กรณีเดียวกัน คลิปตอนถูกแทงผมก็เห็นตำรวจวิ่งไปวิ่งมาอยู่นะครับ ไม่สามารถช่วยอะไรได้ 
บันทึกการเข้า

ไม่ฆ่าน้อง ไม่ฟ้องนาย ไม่ขายเพื่อน
terhun
Full Member
***

คะแนน 22
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 189



« ตอบ #39 เมื่อ: กรกฎาคม 15, 2016, 02:50:42 PM »


  อย่าไปให้ความสนใจไอ้หมอนี่มันเลยครับ มันอยากดังแต่อยากดังผิดยุคไปหน่อยเท่านั้นเองครับ คิก คิก คิก คิก
บันทึกการเข้า

**** ชาติเสือต้องไว้ลาย  ชาติชายต้องไว้ชื่อ ****
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #40 เมื่อ: กรกฎาคม 26, 2016, 01:28:17 PM »

http://manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9590000073966
เอเจนซีส์ - เกิดเหตุชายใช้มีดไล่แทงคนเสียชีวิต 19 รายภายในศูนย์ดูแลผู้พิการแห่งหนึ่งในจังหวัดคานางาวะของญี่ปุ่น เมื่อช่วงกลางดึกที่ผ่านมา (26 ก.ค.) โดยล่าสุดพบว่าผู้ก่อเหตุเป็นอดีตพนักงานวัย 26 ปีที่ได้เข้ามอบตัวกับตำรวจแล้ว และสารภาพว่าต้องการทำให้ผู้พิการเหล่านี้ "หายไป"
       
        หนังสือพิมพ์อาซาฮีชิมบุนรายงานว่า มือมีดได้บอกกับตำรวจว่า “คนพิการควรจะหายไปให้หมด”
       
        รถพยาบาล รถตำรวจ และรถดับเพลิงหลายคันต่างรุดเข้าไปยังศูนย์ดูแลผู้พิการ สึคุอิ ยามายูริ-เอ็น ซึ่งเป็นอาคารชั้นเดียวตั้งอยู่ริมเนินเขาในเมืองซางามิฮาระ ทางตะวันตกของกรุงโตเกียว
       
        โฆษกสำนักงานดับเพลิงระบุว่า ยังมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีกอย่างน้อย 25 คน อาการสาหัส 20 คน ซึ่งเหตุโจมตีครั้งนี้ถือเป็นการสังหารหมู่ครั้งเลวร้ายอันดับต้นๆ ในประวัติศาสตร์ยุคหลังสงครามของแดนอาทิตย์อุทัย
       
        “แพทย์ยืนยันการเสียชีวิตของเหยื่อ 19 คน” โฆษกผู้นี้ให้สัมภาษณ์กับเอเอฟพี
       
        สำนักข่าวเกียวโดเผยชื่อของคนร้ายว่า ซาโตชิ อูเอมัตสึ ซึ่งถูกตำรวจควบคุมตัวไว้แล้ว
       
        ตำรวจได้รับแจ้งเหตุร้ายเมื่อเวลาประมาณ 02.30 น. (0.30 น. ตามเวลาในไทย) ว่ามีชายคนหนึ่งถือมีดบุกเข้าไปในศูนย์ดูแลผู้พิการ
       
        สถานีโทรทัศน์เอ็นเอชเครายงานว่า ชายคนนี้ทุบกระจกอาคารแตก ก่อนจะบุกเข้าไปใช้มีดไล่แทงผู้คนที่อยู่ภายใน
มาคอยดูกันนะว่าหลังจากนี้ ญี่ปุ่นจะออกกฎหมายห้ามประชาชนครอบครองมีดหรือเปล่า 
 
บันทึกการเข้า
rambo1th
Hero Member
*****

คะแนน 142
ออฟไลน์

กระทู้: 1349


« ตอบ #41 เมื่อ: กรกฎาคม 26, 2016, 07:29:37 PM »

นี่คือเรื่องจริง - พรรคพวกผมเป็นตำรวจ ถูกคนบ้าฟันตาย โดยที่ตำรวจบัดดี้อีกคนวิ่งวนไปมา ไม่กล้าใช้อาวุธ รอจนเพื่อนโดนมีดอีโต้ฟันยับ ตายไปต่อหน้า ผมไม่เข้าใจว่าเขากลัวอะไรที่จะปกป้องชีวิตเพื่อนของเขาเอง.... แล้วถ้าเป็นเราล่ะ เขาจะปกป้องคุ้มครองชีวิตเราหรือ

กฎหมายไทย  เจ้าพนักงานจะวิสามัญฆาตกรรมได้เฉพาะการป้องกันตัวเอง (ยกเว้นผู้คุมเรือนจำ ที่ยิงนักโทษหลบหนีได้)   แต่การฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น   จะเป็นคดีฆาตกรรมตามปกติ   หมายถึงเจ้าพนักงานผู้นั้น  ต้องถูกดำเนินคดีอาญาเหมือนกับจำเลยทั่วไป   และในเมื่อเป็นการฆ่าโดยเจตนา เพื่อป้องกันผู้อื่นให้พ้นจากอันตราย    พนักงานอัยการก็จะต้องดำเนินการฟ้องคดีทุกกรณี  เพื่อให้ศาลวินิจฉัยว่าเป็นการป้องกันผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง กับได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ หรือไม่   ถ้าไม่มีฐานะพอจะประกันตัวได้ ก็น่วมละครับ   และจะไปโทษศาลก็ไม่ได้   ผู้พิพากษาท่านนั่งอยู่อยู่ในห้องพิจารณา  ไม่รู้ไม่เห็นว่าเรื่องเป็นมาอย่างไร จัดฉากกันมาหรือเปล่า  ท่านก็ต้องวินิจฉัยไปตามหลักฐานเบื้องต้นที่ปรากฏในขณะสั่งฟ้อง

เรื่องนี้ คงยังไม่สามารถแก้ไขได้   เพราะขนาดกฎหมายของเราตีกรอบไว้แคบปานนี้  เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ก็ยังเกิดการฆ่าตามบัญชีไปสองพันเจ็ดร้อยศพ   จับคนฆ่าไม่ได้ สรุปกันไปว่าฆ่าตัดตอนกันเองทุกราย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68  ผู้ใดต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่น ให้พ้นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย และเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง ถ้าได้กระทำพอสมควรแก่เหตุ การกระทำนั้นเป็นการป้องกันตัวโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
                    ขออนุญาตทราบเป็นความรู้ด้วยคนนึงครับ ปกติเคสฆ่าเพื่อป้องกันผู้อื่น ตาม ปอ. ม.68 นี่  ถ้ามีพยานหลักฐานชัดเจนมั่นคง ปรากฏในสำนวนการสอบสวนของเจ้าหน้าที่ที่จัดทำส่งขึ้นมา  เช่นคลิปวีดีโอ ,  บันทึกปากคำพยานบุคคลที่เป็นประจักษ์พยานเห็นเหตุการณ์ เป็นต้น พนักงานอัยการ จะใช้ดุลพินิจสั่งไม่ฟ้อง โดยให้เหตุผลว่าเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุได้ไหมครับ หรือต้องสั่งฟ้อง เพื่อให้ศาลเป็นผู้วินิจฉัยเท่านั้นครับ
บันทึกการเข้า
yutthakarn
Hero Member
*****

คะแนน 554
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2354


สิ่งที่คนต้องการ คือ โอกาส


« ตอบ #42 เมื่อ: สิงหาคม 10, 2016, 11:16:31 PM »

ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานอัยการ มีหน้าที่ให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชน หากในสำนวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวน พยานหลักฐานแสดงแจ้งชัดว่า ผู้ต้องหากระทำไปโดยเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ ตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 บัญญัติว่า การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
เมื่อพยานหลักฐานแน่ชัดว่า ผู้ถูกกล่าวหาไม่มีความผิด พนักงานอัยการก็ไม่มีเหตุที่จะฟ้องบุคคลนั้นต่อศาล หากฟ้องผู้ที่ไม่ได้กระทำความผิด พนักงานอัยการก็จะปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ
ดังนั้น พนักงานอัยการจะต้องมีคำสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา ซึ่งสำนวนการสอบสวนประเภทที่พยานหลักฐานแน่ชัดว่าผู้ต้องหาไม่มีความผิด พนักงานสอบสวนก็จะมีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหาเสนอต่อพนักงานอัยการด้วย
บันทึกการเข้า
rambo1th
Hero Member
*****

คะแนน 142
ออฟไลน์

กระทู้: 1349


« ตอบ #43 เมื่อ: สิงหาคม 11, 2016, 10:32:51 AM »

ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานอัยการ มีหน้าที่ให้ความเป็นธรรมแก่ประชาชน หากในสำนวนการสอบสวนของพนักงานสอบสวน พยานหลักฐานแสดงแจ้งชัดว่า ผู้ต้องหากระทำไปโดยเป็นการป้องกันพอสมควรแก่เหตุ ตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 68 บัญญัติว่า การกระทำนั้นเป็นการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย ผู้นั้นไม่มีความผิด
เมื่อพยานหลักฐานแน่ชัดว่า ผู้ถูกกล่าวหาไม่มีความผิด พนักงานอัยการก็ไม่มีเหตุที่จะฟ้องบุคคลนั้นต่อศาล หากฟ้องผู้ที่ไม่ได้กระทำความผิด พนักงานอัยการก็จะปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบ
ดังนั้น พนักงานอัยการจะต้องมีคำสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหา ซึ่งสำนวนการสอบสวนประเภทที่พยานหลักฐานแน่ชัดว่าผู้ต้องหาไม่มีความผิด พนักงานสอบสวนก็จะมีความเห็นควรสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหาเสนอต่อพนักงานอัยการด้วย
                 ขอบพระคุณสำหรับความรู้ครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 [3]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.203 วินาที กับ 22 คำสั่ง