๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน

สนทนาภาษาปืน => สนทนาภาษาปืน => ข้อความที่เริ่มโดย: paoza ที่ สิงหาคม 10, 2015, 10:24:47 PM



หัวข้อ: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: paoza ที่ สิงหาคม 10, 2015, 10:24:47 PM
คือผมโดนนายทะเบียนปฏิเสธการออก ป3 อ้างว่า มีปืนอยู่เเล้วหลายกระบอก ผมเห็นว่าไม่เป็นธรรมกับตัวเอง เเถมยังโดนขู่มาอีกว่าถ้าทำเรื่องอุธรณ์จะเรียกตรวจปืนทั้งหมดเเล้วก็ยึดด้วยผมควรทำอย่างไรดีครับ ::014::


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: แปจีหล่อ คนสันขวาน ที่ สิงหาคม 10, 2015, 10:58:10 PM
ปืนไม่ได้เอาไปทำผิดกฏหมายยึดได้ด้วยหรือครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Yut64 ที่ สิงหาคม 10, 2015, 11:48:22 PM
รอเขาย้าย


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: rambo1th ที่ สิงหาคม 11, 2015, 12:10:23 AM
รอเขาย้าย

    ตามที่พี่เขาแนะนำข้างต้น  ...... บางครั้งหลักกฎหมาย กับในชีวิตจริงมันก็ไม่ได้ไปในทิศทางเดียวกัน


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: SIN_JUNG ที่ สิงหาคม 11, 2015, 02:01:18 PM
1567


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: paoza ที่ สิงหาคม 11, 2015, 02:10:36 PM
 ::014::ทุกคำเเนะนำครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: srimalai_รักในหลวง ที่ สิงหาคม 11, 2015, 03:11:29 PM
นายทะเบียนพวกนี้กลั่นแกล้งรังแกสารพัดครับ ถ้าสู้จริง หลายท่านในเวบนี้ ช่วยได้


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: แปจีหล่อ คนสันขวาน ที่ สิงหาคม 11, 2015, 04:48:12 PM
บ้านผมผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านขอป3สวัสดิการ บอกว่ายังเป็นผู้ช่วยไม่ถึงปีไม่ให้ครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: saw ที่ สิงหาคม 13, 2015, 12:57:19 PM
1.ปัจจุบัน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 มีการบังคับใช้แล้ว  ผมคิดว่าการขอใบ ป.3 เป็นการอนุญาตอันหนึ่งที่อยู่ในข่ายบังคับตาม พ.ร.บ.นี้
2.จำได้ว่ามาตรา 7 กำหนดให้ผู้อนุญาตต้องจัดทำคู่มือประชาชน  ที่ต้องมีรายละเอียดว่าต้องใช้เอกสารใดบ้าง
3.มาตรา 8 ระบุว่าหากประชาชนยื่นคำขอฯ พร้อมเอกสารตามรายการในคู่มือประชาชนครบถ้วน/ถูกต้องแล้ว  เจ้าหน้าที่จะต้องรับไว้ดำเนินการต่อไป หากเห็นว่าเอกสารไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง จะต้องให้ผู้ขอฯแก้ไขหรือนำกลับมาเพิ่มเติมในระยะเวลาที่กำหนด
4.การพิจารณาอนุญาตหรือไม่ หากไม่มีการกำหนดระยะเวลาไว้ใน พ.ร.บ.อาวุธปืน ก็ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จใน 30 วัน หากการพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ผู้อนุญาตต้องทำหนังสือแจ้งผู้ขอฯ ว่ามีเหตุขัดข้องใดทกๆ 7 วัน
ขอให้ลองศึกษากฎหมายนี้ดูก่อนครับ(ขออภัยไม่มีรายละเอียดของกฎหมาย ขอให้หาดูในGoogle)


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: saw ที่ สิงหาคม 13, 2015, 01:02:54 PM
ลองศึกษากฎหมายตามนี้ครับ http://www.opdc.go.th/uploads/files/2558/23012015.pdf


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: SIN_JUNG ที่ สิงหาคม 13, 2015, 02:45:47 PM
1.ปัจจุบัน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 มีการบังคับใช้แล้ว  ผมคิดว่าการขอใบ ป.3 เป็นการอนุญาตอันหนึ่งที่อยู่ในข่ายบังคับตาม พ.ร.บ.นี้
2.จำได้ว่ามาตรา 7 กำหนดให้ผู้อนุญาตต้องจัดทำคู่มือประชาชน  ที่ต้องมีรายละเอียดว่าต้องใช้เอกสารใดบ้าง
3.มาตรา 8 ระบุว่าหากประชาชนยื่นคำขอฯ พร้อมเอกสารตามรายการในคู่มือประชาชนครบถ้วน/ถูกต้องแล้ว  เจ้าหน้าที่จะต้องรับไว้ดำเนินการต่อไป หากเห็นว่าเอกสารไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง จะต้องให้ผู้ขอฯแก้ไขหรือนำกลับมาเพิ่มเติมในระยะเวลาที่กำหนด
4.การพิจารณาอนุญาตหรือไม่ หากไม่มีการกำหนดระยะเวลาไว้ใน พ.ร.บ.อาวุธปืน ก็ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จใน 30 วัน หากการพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ผู้อนุญาตต้องทำหนังสือแจ้งผู้ขอฯ ว่ามีเหตุขัดข้องใดทกๆ 7 วัน
ขอให้ลองศึกษากฎหมายนี้ดูก่อนครับ(ขออภัยไม่มีรายละเอียดของกฎหมาย ขอให้หาดูในGoogle)


 ::002::




หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ สิงหาคม 13, 2015, 04:26:23 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: SIN_JUNG ที่ สิงหาคม 13, 2015, 09:00:00 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???



หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ สิงหาคม 13, 2015, 09:20:17 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: rambo1th ที่ สิงหาคม 13, 2015, 09:34:17 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

   + ถูกใจมากครับพี่  ผมชอบแนวการตอบแบบพี่นี่แหละครับ ผมถามพี่หน่อยครับ ระยะเวลา 7 ปี ค่าเหนื่อย ค่าเสียเวลา ค่าเซลล์สมอง คุ้มกันไหมครับ เพราะผมเชื่อว่า 7 ปี คงเปลี่ยนเจ้าหน้าที่มาหลายชุดแล้ว ถือว่าแลกเปลี่ยนครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ สิงหาคม 13, 2015, 09:49:34 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

   + ถูกใจมากครับพี่  ผมชอบแนวการตอบแบบพี่นี่แหละครับ ผมถามพี่หน่อยครับ ระยะเวลา 7 ปี ค่าเหนื่อย ค่าเสียเวลา ค่าเซลล์สมอง คุ้มกันไหมครับ เพราะผมเชื่อว่า 7 ปี คงเปลี่ยนเจ้าหน้าที่มาหลายชุดแล้ว ถือว่าแลกเปลี่ยนครับ



ผมอายุยังน้อยครับ อย่าเรียกว่าพี่เลยครับ สำหรับระยะเวลา ๗ ปีผมว่าคุ้มครับ เพราะแม้นายอำเภอจะเปลี่ยนไปหลายชุดแต่ปลัดอำเภอไม่เปลี่ยนยังคงเป็นคนเดิม ผลจากการฟ้องคดีทำให้ได้ใบอนุญาตเพราะผลการฟ้องมาอีก ๒ กระบอกครับ ได้ความรู้ในการฟ้องร้องคดีต่อศาลปกครองเยอะมากครับ คำอุทธรณ์ คำฟ้อง คำคัดค้านทั้งหมดก็ได้จากผู้การสุพิมท์และทีมงาน สพป. ดำเนินการให้ครับ ค่าใช้จ่ายในการฟ้องไม่มีเพาระไม่ต้องมีทนายเราเสียเฉพาะค่าส่งเอกสารทางไปรษณีย์ครับ

ในช่วงระยะเวลา ๗ ปีมีการเปลี่ยนเจ้าหน้าที่ครั้งใหญ่ไป ๑ ครั้งเนื่องจากปลัดอำเภอคนใหม่ที่ดูแลงานด้านอาวุธปืนได้ก่อเหตุยิงเจ้าหน้าที่อีกคนเสียชีวิตบนที่ว่าการอำเภอเมืองตรังครับ



หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: SIN_JUNG ที่ สิงหาคม 13, 2015, 10:51:51 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ผมเข้าใจท่านครับ ที่ศาลท่านพิพากษาก็ว่าตามกฏหมายที่นายทะเบียนใช้ดุลพินิจใด้เพราะกฏหมายเขียนไว้อย่างนั้น  ::014::

 แต่ผมมองในเรื่องกฏหมายที่ระบุคำว่า ดุลย์พินิจไว้ มันไม่ควรมี หรือถ้ามีก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนมากกวานี้ให้ผู้บังคับใช้กฏหมายปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งประเทศ ไม่ใช่ว่ากฏหมายฉบับเดียวกัน ข้อความในกฏหมายเหมือนกัน แต่ผู้บังคับใช้แต่ละท้องที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเป็นเหมือนการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นรัฐเดียวนะครับ เพราะฉนั้นกฏหมายฉบับเดียวกันเมื่อผู้ใช้สองคนที่มีคุณสมบัติเหมือนกันน่าที่จะได้รับผลทางกฏหมายที่เหมือนกัน นี่อะไรคนมีคุณสมบัติครบเหมือนกันคนหนึ่งขอได้ อีกคนขอไม่ได้ คนหนึ่งมีได้สัน้น 1 ยาว 1 อีกคนมีเท่าไหร่ก็ได้แค่รู้จักหรือสนิทกับคนบางคน


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ สิงหาคม 14, 2015, 11:35:57 AM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ผมเข้าใจท่านครับ ที่ศาลท่านพิพากษาก็ว่าตามกฏหมายที่นายทะเบียนใช้ดุลพินิจใด้เพราะกฏหมายเขียนไว้อย่างนั้น  ::014::

 แต่ผมมองในเรื่องกฏหมายที่ระบุคำว่า ดุลย์พินิจไว้ มันไม่ควรมี หรือถ้ามีก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนมากกวานี้ให้ผู้บังคับใช้กฏหมายปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งประเทศ ไม่ใช่ว่ากฏหมายฉบับเดียวกัน ข้อความในกฏหมายเหมือนกัน แต่ผู้บังคับใช้แต่ละท้องที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเป็นเหมือนการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นรัฐเดียวนะครับ เพราะฉนั้นกฏหมายฉบับเดียวกันเมื่อผู้ใช้สองคนที่มีคุณสมบัติเหมือนกันน่าที่จะได้รับผลทางกฏหมายที่เหมือนกัน นี่อะไรคนมีคุณสมบัติครบเหมือนกันคนหนึ่งขอได้ อีกคนขอไม่ได้ คนหนึ่งมีได้สัน้น 1 ยาว 1 อีกคนมีเท่าไหร่ก็ได้แค่รู้จักหรือสนิทกับคนบางคน





นี่คือปัญหาเรื่องการบังคับใช้กฎหมายของประเทศไทยครับ ประกอบกับเมืองไทย คนไทยมักจะนิยมระบบอุปถัมภ์กันมากกว่าที่จะทำให้เรื่องถูกต้องตามตัวบทกฎหมายครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: yutthakarn ที่ สิงหาคม 16, 2015, 04:53:23 PM
แค่อ่าน ก็เหนื่อยไปด้วยละครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ สิงหาคม 16, 2015, 06:56:36 PM
อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ใช้มาตรฐานความรู้สึกของตัวเองครับ
ต้องเข้าใจก่อนว่าคนไทยส่วนใหญ่เกลียดปืน กลัวปืน   คนเล่นปืนเป็นคนส่วนน้อยของสังคม


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Zeus-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 19, 2015, 04:20:07 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ผมเข้าใจท่านครับ ที่ศาลท่านพิพากษาก็ว่าตามกฏหมายที่นายทะเบียนใช้ดุลพินิจใด้เพราะกฏหมายเขียนไว้อย่างนั้น  ::014::

 แต่ผมมองในเรื่องกฏหมายที่ระบุคำว่า ดุลย์พินิจไว้ มันไม่ควรมี หรือถ้ามีก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนมากกวานี้ให้ผู้บังคับใช้กฏหมายปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งประเทศ ไม่ใช่ว่ากฏหมายฉบับเดียวกัน ข้อความในกฏหมายเหมือนกัน แต่ผู้บังคับใช้แต่ละท้องที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเป็นเหมือนการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นรัฐเดียวนะครับ เพราะฉนั้นกฏหมายฉบับเดียวกันเมื่อผู้ใช้สองคนที่มีคุณสมบัติเหมือนกันน่าที่จะได้รับผลทางกฏหมายที่เหมือนกัน นี่อะไรคนมีคุณสมบัติครบเหมือนกันคนหนึ่งขอได้ อีกคนขอไม่ได้ คนหนึ่งมีได้สัน้น 1 ยาว 1 อีกคนมีเท่าไหร่ก็ได้แค่รู้จักหรือสนิทกับคนบางคน

มาช้า 555+
ชี้แจงคำจำกัดความกันก่อนครับ
1. คำว่าดุลย์พินิจ หมายความว่า การใช้ความคิดตัดสินใจภายใต้เหตุผลกฎหมาย ระเบียบที่กำหนดไว้ ถ้าใช้ดุลย์พินิจ แล้วไม่มีระเบียบหรือกฎหมายรับรอง เขาเรียกว่า ใช้อำนาจตามอำเภอใจ
2. กรณีสั้น 1 ยาว 1 ที่ชอบอ้างเป็นดุลย์พินิจ ศาลเคยตัดสินว่า ไม่สามารถนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาใช้บังคับกับประชาชนได้ เป็นหนังสือเวียนแจ้งภายในหน่วยงานว่า "อยากให้ประชาชนมีแค่สั้น 1 ยาว 1" ซึ่งเป็นเรื่องที่นายทะเบียนต้องแบกความเสี่ยงในการใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมาย หรือระเบียบกำหนด และการอนุญาตหรือไม่อนุญาต ถือเป็นคำสั่งทางปกครอง
3. คำสั่งทางปกครอง สามารถอุธรได้ ฟ้องศาลปกครองได้ แก้ไขคำสั่งทางปกครองได้ และในขณะเดียวกันถ้านายทะเบียนใช้ดุลย์พินิจไม่ถูกก็เท่ากับใช้อำนาจตามอำเภอใจ อาจเข้าข่ายถูกฟ้องคดีอาญาถ้าผู้ร้อง มองว่าถูกกลั่นแกล้งไม่เป็นธรรม เลือกปฎิบัติ
4. กรณีพี่นายกระจง เราก็เคารพในคำตัดสินของศาลเสมอครับ มีแต่ฝ่ายนายทะเบียนนั้นแหละที่พยามใช้ทุกวิถีทาง เพื่อที่จะแถไปเรื่อย
ปัญหามันมีอยู่ข้อเดียวครับ เลือกทางไหน แต่ไม่ว่าเลือกทางไหนมันไม่ผิดครับ เพราะถือเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ไปบีบบังคับให้เลือกไม่ได้ ไม่งั้นก็เข้าข่าย ตัดสินคนตามอำเภอใจ ซึ่งมันก็แย่พอ ๆ กับใช้อำนาจตามอำเภอใจ ดีกว่าตรงที่ไม่ต้องขึ้นศาล 5555+

ที่ต้องเข้ามาตอบเพราะผมมาตอบในฐานะคนยุชาวบ้านฟ้องนายทะเบียนครับ   ;D ;D ;D ;D
แต่เป็นแค่คนยุนะครับ คนฟ้องคือพี่นายกระจง คนให้คำปรึกษามีผู้การสุพินท์นำทีม


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: SIN_JUNG ที่ สิงหาคม 20, 2015, 10:24:15 AM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ

ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ผมเข้าใจท่านครับ ที่ศาลท่านพิพากษาก็ว่าตามกฏหมายที่นายทะเบียนใช้ดุลพินิจใด้เพราะกฏหมายเขียนไว้อย่างนั้น  ::014::

 แต่ผมมองในเรื่องกฏหมายที่ระบุคำว่า ดุลย์พินิจไว้ มันไม่ควรมี หรือถ้ามีก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนมากกวานี้ให้ผู้บังคับใช้กฏหมายปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งประเทศ ไม่ใช่ว่ากฏหมายฉบับเดียวกัน ข้อความในกฏหมายเหมือนกัน แต่ผู้บังคับใช้แต่ละท้องที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเป็นเหมือนการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นรัฐเดียวนะครับ เพราะฉนั้นกฏหมายฉบับเดียวกันเมื่อผู้ใช้สองคนที่มีคุณสมบัติเหมือนกันน่าที่จะได้รับผลทางกฏหมายที่เหมือนกัน นี่อะไรคนมีคุณสมบัติครบเหมือนกันคนหนึ่งขอได้ อีกคนขอไม่ได้ คนหนึ่งมีได้สัน้น 1 ยาว 1 อีกคนมีเท่าไหร่ก็ได้แค่รู้จักหรือสนิทกับคนบางคน

มาช้า 555+
ชี้แจงคำจำกัดความกันก่อนครับ
1. คำว่าดุลย์พินิจ หมายความว่า การใช้ความคิดตัดสินใจภายใต้เหตุผลกฎหมาย ระเบียบที่กำหนดไว้ ถ้าใช้ดุลย์พินิจ แล้วไม่มีระเบียบหรือกฎหมายรับรอง เขาเรียกว่า ใช้อำนาจตามอำเภอใจ
2. กรณีสั้น 1 ยาว 1 ที่ชอบอ้างเป็นดุลย์พินิจ ศาลเคยตัดสินว่า ไม่สามารถนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาใช้บังคับกับประชาชนได้ เป็นหนังสือเวียนแจ้งภายในหน่วยงานว่า "อยากให้ประชาชนมีแค่สั้น 1 ยาว 1" ซึ่งเป็นเรื่องที่นายทะเบียนต้องแบกความเสี่ยงในการใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมาย หรือระเบียบกำหนด และการอนุญาตหรือไม่อนุญาต ถือเป็นคำสั่งทางปกครอง
3. คำสั่งทางปกครอง สามารถอุธรได้ ฟ้องศาลปกครองได้ แก้ไขคำสั่งทางปกครองได้ และในขณะเดียวกันถ้านายทะเบียนใช้ดุลย์พินิจไม่ถูกก็เท่ากับใช้อำนาจตามอำเภอใจ อาจเข้าข่ายถูกฟ้องคดีอาญาถ้าผู้ร้อง มองว่าถูกกลั่นแกล้งไม่เป็นธรรม เลือกปฎิบัติ
4. กรณีพี่นายกระจง เราก็เคารพในคำตัดสินของศาลเสมอครับ มีแต่ฝ่ายนายทะเบียนนั้นแหละที่พยามใช้ทุกวิถีทาง เพื่อที่จะแถไปเรื่อย
ปัญหามันมีอยู่ข้อเดียวครับ เลือกทางไหน แต่ไม่ว่าเลือกทางไหนมันไม่ผิดครับ เพราะถือเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ไปบีบบังคับให้เลือกไม่ได้ ไม่งั้นก็เข้าข่าย ตัดสินคนตามอำเภอใจ ซึ่งมันก็แย่พอ ๆ กับใช้อำนาจตามอำเภอใจ ดีกว่าตรงที่ไม่ต้องขึ้นศาล 5555+

ที่ต้องเข้ามาตอบเพราะผมมาตอบในฐานะคนยุชาวบ้านฟ้องนายทะเบียนครับ   ;D ;D ;D ;D
แต่เป็นแค่คนยุนะครับ คนฟ้องคือพี่นายกระจง คนให้คำปรึกษามีผู้การสุพินท์นำทีม




ขอบคุณครับที่อธิบายให้เข้าใจ  ::014::
      ถึงอย่างไรผมก็มองว่าการให้อำนาจใช้ดุลพินิจแก่เจ้าหน้าที่ยังเป็นการเลือกปฏิบัติอยู่ดีเพราะเป็นการใช้การตัดสินใจของตัวเจ้าหน้าที่ ในการตัดสินว่าจะอนุญาตให้ใครไม่อนุญาตให้ใคร(กรณีที่ผู้ขอมีคุณสมบัติถูกต้องเหมือนกัน) ส่วนการที่จะอุธร ฟ้องร้อง มันเป็นเรื่องปลายเหตุหลังที่เจ้าหน้าที่ได้ใช้ดุลพินิจไปแล้ว และเป็นเรื่องที่ยุ่งยากถึงยากมากๆ สำหรับผู้ร้อง แถมกฏหมายยังถือว่าการใช้ดุลพิจของเจ้าหน้าที่เป็นสิ่งที่ถูกต้องอีก และมีผู้ร้องที่มีคุณสมบัติถูกต้องกี่เปอร์เซ็นต์ที่ประสบผลสำเร็จในการต่อสู้ เสียทั้งเงิน เวลา ฯลฯ ทั้งที่สาเหตุมันไม่ได้เกิดจากผู้ร้อง(มีคุณสมบัติครบตามกฏหมาย) แต่มันเกิดจากการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน หรือในที่เดียวกันแต่ใช้กับคนสองคนไม่เหมือนกัน อย่างกรณีเรามี 2 กระบอกแล้วแจ้งว่ามีมากพอที่จะป้องกันชีวิตและทรัพย์สินแล้ว ใช้ดุลพินิจไม่อนุญาตให้ซื้อ (ในกฏหมายไม่ได้ระบุว่าสามารถมีได้สูงสุดกี่กระบอก) แต่ในที่เดียวกันอีกคนมีมากกว่า 2 กระบอกทำไมถึงมีได้ ถ้า 2 กระบอกถือว่ามากแล้ว คนอื่นๆ ทุกคนต้องมีเกิน 2 ไม่ได้เหมือนกันจึงจะถือว่ามีการปฏิบัติตามกฏหมายเหมือนกัน แต่การใช้อำนาจตามดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในปัจจุบันเป็นการใช้ดุลพินิจเป็นการเฉพาะเป็นรายๆไป ตรงนี้จึงเป็นช่องทางให้สามารถใช้อำนาจ(ดุลพินิจ)เกินขอบเขตที่กฎหมายกำหนดเพื่อหวังผลประโยชน์แอบแฝงได้ (เมื่อไหร่ระบบนี้มันจะหมดไปจากประเทศไทยซะที)(บ่นครับ)







หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: พญาจงอาง +รักในหลวง+ ที่ สิงหาคม 20, 2015, 10:55:21 AM
เข้ามาอ่านเอาความรู้ และ+ให้ทุกๆท่านในหน้านี้ครับ ::014::


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ธำรง ที่ สิงหาคม 20, 2015, 08:59:33 PM
ในส่วนภูมิภาค มีนิทานเรื่องหมาหางด้วน
ดุลพินิจเป็นเครื่องมือในการตัดหาง
เมื่อคนส่วนใหญ่ ยอมให้ตัด จ่ายสินบน
คนส่วนน้อยที่ไม่จ่ายก็ต้องมีปัญหา
แต่ละเดือนเขาต้องส่งนายตามจำนวนใบและขนาด
ต้องตรงตามจำนวน

ดังนั้นใครไม่จ่ายต้องถูกยื้อ  ถ้ารุกมากก็ปฏิเสธฯ
นายต้องป้องสมบัติเจ้าคุณปู่  ไม่จ่ายไม่อนุญาต



หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ สิงหาคม 20, 2015, 10:36:31 PM
บวก ๑ แต้มทุกคนในหน้านี้ครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Zeus-รักในหลวง ที่ สิงหาคม 20, 2015, 11:11:57 PM
แล้วนายทะเบียนได้ปฏิเสธมาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือเปล่าครับ เพราะถ้าปฏิเสธด้วยปากเปล่า เรายังไปอุทธรณ์ไม่ได้ครับ แต่หากเกินเวลาเราสามารถไปฟ้องศาลปกครองให้เร่งรัดการพิจารณาได้ ส่วนทางนายทะเบียนจะพิจารณาให้หรือไม่ก็เป็นดุลพินิจของนายทะเบียน ยิ่งถ้าเรามีอยู่แล้ว และทางนายทะเบียนเห็นว่าเพียงพอต่อการปกป้องชีวิตและทรัพย์สิน พอเราไปอุทธรณ์ รมต. มหาดไทยก็จะเห็นด้วยกับนายทะเบียน สุดท้ายพอเราไปฟ้องศาลปกครองก็จะเห็นไปในทางเดียวกันกับนายทะเบียนหากคำปฏิเสธของนายทะเบียนนั้นถูกต้องและชอบด้วยกฎหมายครับ
ตรงใหนคืนเพียงพอครับ บางคนใช้ดุลพินิจให้ได้สั้น 1 ยาว 1 บางคนให้ได้เป็นสิบ เป็นร้อยกระบอก แล้วทำไม กทม ขอได้ถ้าคุณสมบัติครบ คำว่าดุลพินิจมันมีมาตรฐานอยู่ตรงใหน ทำไมไม่ยึดตามหลักกฏหมายโดยเคร่งครัด ใช้ดุลพินิจแบบไม่มีมาตรฐานอ้างอิงเลยในแต่ละท้องที่ อย่างนี้น่าจะเรียกว่าแล้วแต่ความคิดของนายทะเบียนแต่ละคนดีกว่าใหม คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ดีก็ได้ คนใหนมองปืนและผู้ขออนุญาตในทางที่ไม่ดีก็ไม่ได้ทั้งที่เขามีคุณสมบัติครบถูกต้องตามกฏหมาย  ???





อันนี้ผมก็ไม่ทราบว่าเขาใช้มาตราฐานอะไรเป็นตัววัด แต่ผมฟ้องจนถึงศาลปกครองสูงสุด พิพากษามาแล้ว ว่าคำวินิจฉัยของนายทะเบียนที่ว่ามีอาวุธเพียงพอแก่การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินชอบด้วยกฎหมายมาแล้วครับ ใช้เวลาทั้งหมด ๗ ปีครับ

ผมเข้าใจท่านครับ ที่ศาลท่านพิพากษาก็ว่าตามกฏหมายที่นายทะเบียนใช้ดุลพินิจใด้เพราะกฏหมายเขียนไว้อย่างนั้น  ::014::

 แต่ผมมองในเรื่องกฏหมายที่ระบุคำว่า ดุลย์พินิจไว้ มันไม่ควรมี หรือถ้ามีก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจนมากกวานี้ให้ผู้บังคับใช้กฏหมายปฏิบัติเช่นเดียวกันทั้งประเทศ ไม่ใช่ว่ากฏหมายฉบับเดียวกัน ข้อความในกฏหมายเหมือนกัน แต่ผู้บังคับใช้แต่ละท้องที่ใช้อำนาจตามอำเภอใจจนเป็นเหมือนการเลือกปฏิบัติ ประเทศไทยเป็นรัฐเดียวนะครับ เพราะฉนั้นกฏหมายฉบับเดียวกันเมื่อผู้ใช้สองคนที่มีคุณสมบัติเหมือนกันน่าที่จะได้รับผลทางกฏหมายที่เหมือนกัน นี่อะไรคนมีคุณสมบัติครบเหมือนกันคนหนึ่งขอได้ อีกคนขอไม่ได้ คนหนึ่งมีได้สัน้น 1 ยาว 1 อีกคนมีเท่าไหร่ก็ได้แค่รู้จักหรือสนิทกับคนบางคน

มาช้า 555+
ชี้แจงคำจำกัดความกันก่อนครับ
1. คำว่าดุลย์พินิจ หมายความว่า การใช้ความคิดตัดสินใจภายใต้เหตุผลกฎหมาย ระเบียบที่กำหนดไว้ ถ้าใช้ดุลย์พินิจ แล้วไม่มีระเบียบหรือกฎหมายรับรอง เขาเรียกว่า ใช้อำนาจตามอำเภอใจ
2. กรณีสั้น 1 ยาว 1 ที่ชอบอ้างเป็นดุลย์พินิจ ศาลเคยตัดสินว่า ไม่สามารถนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวมาใช้บังคับกับประชาชนได้ เป็นหนังสือเวียนแจ้งภายในหน่วยงานว่า "อยากให้ประชาชนมีแค่สั้น 1 ยาว 1" ซึ่งเป็นเรื่องที่นายทะเบียนต้องแบกความเสี่ยงในการใช้อำนาจเกินกว่าที่กฎหมาย หรือระเบียบกำหนด และการอนุญาตหรือไม่อนุญาต ถือเป็นคำสั่งทางปกครอง
3. คำสั่งทางปกครอง สามารถอุธรได้ ฟ้องศาลปกครองได้ แก้ไขคำสั่งทางปกครองได้ และในขณะเดียวกันถ้านายทะเบียนใช้ดุลย์พินิจไม่ถูกก็เท่ากับใช้อำนาจตามอำเภอใจ อาจเข้าข่ายถูกฟ้องคดีอาญาถ้าผู้ร้อง มองว่าถูกกลั่นแกล้งไม่เป็นธรรม เลือกปฎิบัติ
4. กรณีพี่นายกระจง เราก็เคารพในคำตัดสินของศาลเสมอครับ มีแต่ฝ่ายนายทะเบียนนั้นแหละที่พยามใช้ทุกวิถีทาง เพื่อที่จะแถไปเรื่อย
ปัญหามันมีอยู่ข้อเดียวครับ เลือกทางไหน แต่ไม่ว่าเลือกทางไหนมันไม่ผิดครับ เพราะถือเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ไปบีบบังคับให้เลือกไม่ได้ ไม่งั้นก็เข้าข่าย ตัดสินคนตามอำเภอใจ ซึ่งมันก็แย่พอ ๆ กับใช้อำนาจตามอำเภอใจ ดีกว่าตรงที่ไม่ต้องขึ้นศาล 5555+

ที่ต้องเข้ามาตอบเพราะผมมาตอบในฐานะคนยุชาวบ้านฟ้องนายทะเบียนครับ   ;D ;D ;D ;D
แต่เป็นแค่คนยุนะครับ คนฟ้องคือพี่นายกระจง คนให้คำปรึกษามีผู้การสุพินท์นำทีม




ขอบคุณครับที่อธิบายให้เข้าใจ  ::014::
      ถึงอย่างไรผมก็มองว่าการให้อำนาจใช้ดุลพินิจแก่เจ้าหน้าที่ยังเป็นการเลือกปฏิบัติอยู่ดีเพราะเป็นการใช้การตัดสินใจของตัวเจ้าหน้าที่ ในการตัดสินว่าจะอนุญาตให้ใครไม่อนุญาตให้ใคร(กรณีที่ผู้ขอมีคุณสมบัติถูกต้องเหมือนกัน) ส่วนการที่จะอุธร ฟ้องร้อง มันเป็นเรื่องปลายเหตุหลังที่เจ้าหน้าที่ได้ใช้ดุลพินิจไปแล้ว และเป็นเรื่องที่ยุ่งยากถึงยากมากๆ สำหรับผู้ร้อง แถมกฏหมายยังถือว่าการใช้ดุลพิจของเจ้าหน้าที่เป็นสิ่งที่ถูกต้องอีก และมีผู้ร้องที่มีคุณสมบัติถูกต้องกี่เปอร์เซ็นต์ที่ประสบผลสำเร็จในการต่อสู้ เสียทั้งเงิน เวลา ฯลฯ ทั้งที่สาเหตุมันไม่ได้เกิดจากผู้ร้อง(มีคุณสมบัติครบตามกฏหมาย) แต่มันเกิดจากการใช้อำนาจของเจ้าหน้าที่ในแต่ละพื้นที่ไม่เหมือนกัน หรือในที่เดียวกันแต่ใช้กับคนสองคนไม่เหมือนกัน อย่างกรณีเรามี 2 กระบอกแล้วแจ้งว่ามีมากพอที่จะป้องกันชีวิตและทรัพย์สินแล้ว ใช้ดุลพินิจไม่อนุญาตให้ซื้อ (ในกฏหมายไม่ได้ระบุว่าสามารถมีได้สูงสุดกี่กระบอก) แต่ในที่เดียวกันอีกคนมีมากกว่า 2 กระบอกทำไมถึงมีได้ ถ้า 2 กระบอกถือว่ามากแล้ว คนอื่นๆ ทุกคนต้องมีเกิน 2 ไม่ได้เหมือนกันจึงจะถือว่ามีการปฏิบัติตามกฏหมายเหมือนกัน แต่การใช้อำนาจตามดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ในปัจจุบันเป็นการใช้ดุลพินิจเป็นการเฉพาะเป็นรายๆไป ตรงนี้จึงเป็นช่องทางให้สามารถใช้อำนาจ(ดุลพินิจ)เกินขอบเขตที่กฎหมายกำหนดเพื่อหวังผลประโยชน์แอบแฝงได้ (เมื่อไหร่ระบบนี้มันจะหมดไปจากประเทศไทยซะที)(บ่นครับ)










ตามมาฟังคนบ่นครับ และ+1  ให้ครับ



หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นิพนธ์-รักในหลวงของไทย ที่ สิงหาคม 24, 2015, 12:01:29 PM
อ่านแล้วก็เศร้าเมื่อเราปฎิบัติตามกฎหมาย ก็ต้องจอดที่ดุจพินิจ อนาคตคนรักปืนเมื่อขอ ป3 ไม่ใด้ คงต้องย้ายเข้าเมืองหลวง เพราะภูธรไม่ให้


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ธำรง ที่ สิงหาคม 24, 2015, 03:55:11 PM
การใช้ดุลพินิจในการออกคำสั่งทางปกครอง ต้องมีเหตุผลครับไม่ใช่ใช้อย่างไรก็ได้ ไม่งั้นคนใช้ดุลพินิจก็จอดเหมือนกัน  ::005::

พรบ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ มีข้อบัญญัติไว้ว่า
มาตรา ๓๗ คําสั่งทางปกครองที่ทําเปนหนังสือและการยืนยันคําสั่งทางปกครอง
เปนหนังสือตองจัดใหมีเหตุผลไวดวย และเหตุผลนั้นอยางนอยตองประกอบดวย
(๑) ขอเท็จจริงอันเปนสาระสําคัญ
(๒) ขอกฎหมายที่อางอิง
(๓) ขอพิจารณาและขอสนับสนุนในการใชดุลพินิจ ..........
--------------------------------------------------------------------
ดังนั้นถ้านายทะเบียนฯสั่งไม่อนุญาตฯ ก็ต้องขอทราบคำสั่งเป็นหนังสือ เพื่อรู้ถึงเหตุผล
การจะโต้แย้งก็เป็นกรณีๆไป ไม่มีสูตรสำเร็จ

ไม่โต้แย้ง ย้ายบ้านหนี ไม่ว่ากัน .... ขอหนังสือคำสั่งปฏิเสธฯมาดูเล่นซะหน่อยเป็นไง  ::008::


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: seatuch--รักในหลวง ที่ กันยายน 03, 2015, 06:11:32 AM
แชร์นะครับ
เวลาผมขอปืนจะขอทีละ 4 กระบอก  เพราะเตรียมจะฟ้องศาลปกครอง จะได้ไม่เสียเวลารอครับ
เพราะอำเภอเล่นแง่ แต่ผมขอเพื่อการกีฬาครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: oil ที่ กันยายน 03, 2015, 07:21:52 AM
ฟ้องเลยๆๆๆๆๆๆ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: paoza ที่ กันยายน 03, 2015, 08:42:19 AM
ผมจะขอคำสั่งปฏิเสธ  ต้องยื่นคำร้องยังไงครับ  พี่ธำรง ชักจะมันมือขึ้นมาเเล้ว


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ธำรง ที่ กันยายน 03, 2015, 09:41:27 AM
ผมจะขอคำสั่งปฏิเสธ  ต้องยื่นคำร้องยังไงครับ  พี่ธำรง ชักจะมันมือขึ้นมาเเล้ว

ทำหนังสือสอบถามผลการพิจารณาคำขออนุญาตฯ ไปยังนายทะเบียนฯครับ
เนื้อหาว่า ข้าพเจ้านาย..........ได้ยื่นขออนุญาต........ตามคำร้องในแบบฟอร์มป.1 ลงวันที่........ไว้แล้วนั้น
ข้าพเจ้าขอทราบผลการพิจารณา หรือ ความคืบหน้าตามคำขออนุญาต .... ดังกล่าวด้วย

ไปยื่นให้จนท. ทำสำเนาให้เซ็นรับเอกสารไว้เป็นหลักฐาน
หรือถ้าไม่สะดวกก็ส่งไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับก็ได้

นายทะเบียนฯควรมีหนังสือตอบให้ทราบ ถ้าเกิน 15 วัน ถือว่าล่าช้า


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ กันยายน 03, 2015, 11:05:14 AM
คำสั่งปฏิเสธ ต้องทำเป็นหนังสืออยู่แล้วครับ  แต่ถึงไม่ทำเป็นหนังสือ  ก็ยังอุทธรณ์ได้ โดยอ้างถึงการไม่อนุญาตด้วยวาจา  ซึ่งในกรณีนี้ ไม่อยู่ในเงื่อนเวลา 30 วันด้วย

พ.ร.บ.อาวุธปืน ฯ มาตรา ๖๓  ถ้านายทะเบียนท้องที่ปฏิเสธการออกใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้ยื่นคำขอใบอนุญาตอาจอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภายในกำหนดสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งการปฏิเสธเป็นหนังสือ คำอุทธรณ์ให้ยื่นต่อนายทะเบียนท้องที่ และให้นายทะเบียนเสนอคำอุทธรณ์นั้นต่อรัฐมนตรีโดยมิชักช้า คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีให้แจ้งเป็นหนังสือไปยังผู้ยื่นคำขอใบอนุญาต

พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙  มาตรา ๓๔  คำสั่งทางปกครองอาจทำเป็นหนังสือหรือวาจาหรือโดยการสื่อความหมายในรูปแบบอื่นก็ได้ แต่ต้องมีข้อความหรือความหมายที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ธำรง ที่ กันยายน 03, 2015, 02:15:19 PM
ขอบคุณท่านผู้การฯที่ช่วยชี้แนะครับ  ::014::


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: graphicway ที่ กันยายน 04, 2015, 02:33:58 PM
 ::014::ขอบคุณท่านผู้การและทางเวป ที่ช่วยให้คนเล่นปืนรู้สิทธิของตัวเองครับ ::014::


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: อดิศักดิ์ ที่ กันยายน 08, 2015, 06:43:15 PM
อ่านแล้วก็เศร้าเมื่อเราปฎิบัติตามกฎหมาย ก็ต้องจอดที่ดุจพินิจ อนาคตคนรักปืนเมื่อขอ ป3 ไม่ใด้ คงต้องย้ายเข้าเมืองหลวง เพราะภูธรไม่ให้
ผมเห็นด้วยกับ คห.ท่านนี้ครับ


หัวข้อ: Re: ช่วยเเนะนำเรื่องการอุธรณ์ ด้วยครับ
เริ่มหัวข้อโดย: นายกระจง ที่ กันยายน 17, 2015, 08:19:59 AM
1.ปัจจุบัน พ.ร.บ.อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558 มีการบังคับใช้แล้ว  ผมคิดว่าการขอใบ ป.3 เป็นการอนุญาตอันหนึ่งที่อยู่ในข่ายบังคับตาม พ.ร.บ.นี้
2.จำได้ว่ามาตรา 7 กำหนดให้ผู้อนุญาตต้องจัดทำคู่มือประชาชน  ที่ต้องมีรายละเอียดว่าต้องใช้เอกสารใดบ้าง
3.มาตรา 8 ระบุว่าหากประชาชนยื่นคำขอฯ พร้อมเอกสารตามรายการในคู่มือประชาชนครบถ้วน/ถูกต้องแล้ว  เจ้าหน้าที่จะต้องรับไว้ดำเนินการต่อไป หากเห็นว่าเอกสารไม่ครบถ้วน/ถูกต้อง จะต้องให้ผู้ขอฯแก้ไขหรือนำกลับมาเพิ่มเติมในระยะเวลาที่กำหนด
4.การพิจารณาอนุญาตหรือไม่ หากไม่มีการกำหนดระยะเวลาไว้ใน พ.ร.บ.อาวุธปืน ก็ให้พิจารณาให้แล้วเสร็จใน 30 วัน หากการพิจารณาไม่แล้วเสร็จ ผู้อนุญาตต้องทำหนังสือแจ้งผู้ขอฯ ว่ามีเหตุขัดข้องใดทกๆ 7 วัน
ขอให้ลองศึกษากฎหมายนี้ดูก่อนครับ(ขออภัยไม่มีรายละเอียดของกฎหมาย ขอให้หาดูในGoogle)



ว่างๆเลยลองนั่งอ่านดู คู่มือประชาชนนั้นเมื่อก่อนบางหน่วยงานจะมี แต่สำหรับอำเภอนั้นมีบ้างเหมือนกัน แต่ในส่วนการดำเนินงานทางอาวุธปืนนั้นหลังจากโดนฟ้องไปหลายๆครั้งทำให้ทางอำเภอหลายๆแห่งได้จัดทำผังระยะเวลาการรับเรื่องดำเนินการขึ้นมาแล้วติดไว้บนอำเภอ แต่ไม่รวมถึงกรณีรอพิจารณาหรืออนุมัติไว้


หากใครเคยใช้บริการจาก พ.ร.บ. อำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ.2558  รบกวนช่วยกันแชร์ประสบการด้วยครับ