๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน

สนทนาภาษาปืน => สนทนาภาษาปืน => ข้อความที่เริ่มโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 23, 2014, 04:33:01 PM



หัวข้อ: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 23, 2014, 04:33:01 PM
::014::

(http://www.brownells.com/userdocs/skus/p_969425140_1.jpg)


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 23, 2014, 07:11:53 PM
ตัวนี้ไม่ใช่ Variable rate  แต่เป็น Progressive rate คือยิ่งกด ก็ยิ่งแข็งขึ้น
ในทางหลักการ จะช่วยให้ดึงสไลด์ช่วงแรกเบาแรงลง  แต่รับแรงถอยหลังกับส่งกระสุนเข้ารังเพลิงด้วยแรงเท่าเดิม
เท่าที่ผมเคยใช้มา ไม่รู้สึกถึงความแตกต่าง


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 23, 2014, 08:16:44 PM
ตัวนี้ไม่ใช่ Variable rate  แต่เป็น Progressive rate คือยิ่งกด ก็ยิ่งแข็งขึ้น
ในทางหลักการ จะช่วยให้ดึงสไลด์ช่วงแรกเบาแรงลง  แต่รับแรงถอยหลังกับส่งกระสุนเข้ารังเพลิงด้วยแรงเท่าเดิม
เท่าที่ผมเคยใช้มา ไม่รู้สึกถึงความแตกต่าง

ขอบคุณครับผม  ::014:: ::014::

อย่างคนขายบอกว่าตัวนี้ 16 ปอนด์ แสดงว่าช่วงดึงสไลด์ช่วงแรกไม่ถึง 16 ปอนด์ แต่พอจังหวะรับแรงถอยถึงจะได้ 16 ปอนด์หรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นแบบนั้นก็แสดงว่าไม่ได้ช่วยให้สไลด์กระแทกโครงปืนเบาลงด้วยใช่ไหมครับ  ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 23, 2014, 08:20:44 PM
ตัวนี้ไม่ใช่ Variable rate  แต่เป็น Progressive rate คือยิ่งกด ก็ยิ่งแข็งขึ้น
ในทางหลักการ จะช่วยให้ดึงสไลด์ช่วงแรกเบาแรงลง  แต่รับแรงถอยหลังกับส่งกระสุนเข้ารังเพลิงด้วยแรงเท่าเดิม
เท่าที่ผมเคยใช้มา ไม่รู้สึกถึงความแตกต่าง

ขอบคุณครับผม  ::014:: ::014::

อย่างคนขายบอกว่าตัวนี้ 16 ปอนด์ แสดงว่าช่วงดึงสไลด์ช่วงแรกไม่ถึง 16 ปอนด์ แต่พอจังหวะรับแรงถอยถึงจะได้ 16 ปอนด์หรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นแบบนั้นก็แสดงว่าไม่ได้ช่วยให้สไลด์กระแทกโครงปืนเบาลงด้วยใช่ไหมครับ  ::014::

ใช่ครับ
แต่คอยล์สปริงทั่วไปก็จะมีอาการแบบนี้อยู่แล้ว  จะแข็งที่สุดเมื่อหดสั้นสุด


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 23, 2014, 08:23:18 PM
ขอบพระคุณท่านผู้การมากๆครับ สำหรับความรู้ครับผม  ::014:: 


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: คมขวาน รักในหลวง ที่ ธันวาคม 23, 2014, 09:19:55 PM
        เข้ามาเก็บความรู้ ครับ ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 24, 2014, 11:33:16 AM
ขอบพระคุณท่านผู้การมากๆครับ สำหรับความรู้ครับผม  ::014:: 

ลองทำเครื่องวัดความแข็งของสปริงใช้เองซิครับ  ทำมาเสนอขายในเว็ปนี้เลยก็ได้
ในลิงค์ เป็นเครื่องวัดสปริงนก  แต่เราขยายขึ้นให้วัดรีคอยล์สปริงได้   ส่วนเครื่องชั่งแบบดึง ซื้อได้ที่ร้านเครื่องชั่งแถวคลองถม

http://www.ebay.com/itm/1911-Hammer-Spring-Tester/141512516697?_trksid=p2047675.c100011.m1850&_trkparms=aid%3D222007%26algo%3DSIC.MBE%26ao%3D1%26asc%3D20140602152332%26meid%3D034b2ea430c048759a551a2f5f49616e%26pid%3D100011%26prg%3D20140602152332%26rk%3D1%26rkt%3D10%26sd%3D141476969431


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 24, 2014, 02:35:32 PM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 24, 2014, 02:43:01 PM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::

ทำขายเลย  ผมซื้อคนแรก


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 24, 2014, 03:15:10 PM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::

ทำขายเลย  ผมซื้อคนแรก


เกรงใจท่านผู้การจัง ขอผมศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมก่อนนะครับ ถ้าจะทำอยากจะให้ใช้งานได้สะดวกขึ้นครับ   ::014:: ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: turboboost ที่ ธันวาคม 24, 2014, 04:10:47 PM
เอาด้วยครับจะได้รู้ว่าสปริงล้าแล้วหรือไม่ ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 25, 2014, 08:18:43 PM
เอาด้วยครับจะได้รู้ว่าสปริงล้าแล้วหรือไม่ ::014::

จะลองดูนะครับ ถ้าทำจริงคงได้แต่เรือนทดสอบสปริง แต่เครื่องชั่งแบบดึงไม่รู้ในจังหวัดผมจะมีขายหรือเปล่า  ::004::

ถ้าเกิดไม่ใช้เครื่องชั่ง แต่หาน้ำหนักสปริงจากค่าแรงในสมการ f=ks จะได้หรือเปล่าก็ไม่รู้ครับ ::014::


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 29, 2014, 08:58:02 AM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::

เรามาร์กเองได้ครับ  มาร์กแรก คือตอนที่สปริงถูกกดให้วางตัวอยู่ตามปกติ  มาร์ก 2 คือระยะที่ถูกกดจนสุด


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ ธันวาคม 30, 2014, 06:10:50 PM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::

เรามาร์กเองได้ครับ  มาร์กแรก คือตอนที่สปริงถูกกดให้วางตัวอยู่ตามปกติ  มาร์ก 2 คือระยะที่ถูกกดจนสุด

ขอบคุณครับผม ผมลองค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากฝรั่งคนหนึ่งในเว็บ calgun อ้างอิงว่า


อ้างถึง
"For a 1911 pistol (Government model), the spring must be compressed to a size of 1.625” inches when taking the measurement for the spring poundage. (As per a note I found on the Brownell’s website, and also another pretty good source). And from my understanding, “Wolf Springs” also supports this."


อ้างถึง
"... if you have a 1911 commander model, the compression point where you take the reading from is 1.125”.

And if you have a 1911 officer’s model, the compression point where you take the reading from is .700”.

Since I only have a Government model, I only marked the 1.625" point. "

ข้อมูลใช้ได้ไหมครับ  ::014::

ตอนนี้กำลังคิดว่าจะเขียนแบบให้สามารถทดสอบสปริงได้ทั้ง 3 ขนาดของปืน 1911 เลย ออกแบบแบบง่ายๆลดต้นทุนแต่ใช้ได้ผลน่ะครับ

ส่วนวัสดุน่าจะเป็นอลูมิเนียมอาจจะชุบผิวด้วยวิธีอะโนไดซ์ครับ  ::014:: ::014::



หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 30, 2014, 06:25:15 PM
เริ่มสนุกแล้ว


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ชัยบึงกาฬ รักในหลวง ที่ ธันวาคม 30, 2014, 08:40:59 PM
ติดตามๆ ;D ;D


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 30, 2014, 10:34:00 PM
จากที่อ่านรายละเอียดวิธีใช้ ให้ดึงสปริงจนถึงจุดที่มาร์กเอาไว้ แสดงว่าเขาวัดน้ำหนักสปริงโดยเฉลี่ยเอาที่กึ่งกลางของระยะยุบตัวหรือเปล่าครับ

ถ้าเป็นสปริงรีคอยล์ ผมว่าอาจจะใช้ท่อ PVC มาดัดแปลงได้นะครับ ถ้าว่างเมื่อไหร่ผมจะทดลองทำดูครับ  ::014:: ::014::

เรามาร์กเองได้ครับ  มาร์กแรก คือตอนที่สปริงถูกกดให้วางตัวอยู่ตามปกติ  มาร์ก 2 คือระยะที่ถูกกดจนสุด

ขอบคุณครับผม ผมลองค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมจากฝรั่งคนหนึ่งในเว็บ calgun อ้างอิงว่า


อ้างถึง
"For a 1911 pistol (Government model), the spring must be compressed to a size of 1.625” inches when taking the measurement for the spring poundage. (As per a note I found on the Brownell’s website, and also another pretty good source). And from my understanding, “Wolf Springs” also supports this."


อ้างถึง
"... if you have a 1911 commander model, the compression point where you take the reading from is 1.125”.

And if you have a 1911 officer’s model, the compression point where you take the reading from is .700”.

Since I only have a Government model, I only marked the 1.625" point. "

ข้อมูลใช้ได้ไหมครับ  ::014::

ตอนนี้กำลังคิดว่าจะเขียนแบบให้สามารถทดสอบสปริงได้ทั้ง 3 ขนาดของปืน 1911 เลย ออกแบบแบบง่ายๆลดต้นทุนแต่ใช้ได้ผลน่ะครับ

ส่วนวัสดุน่าจะเป็นอลูมิเนียมอาจจะชุบผิวด้วยวิธีอะโนไดซ์ครับ  ::014:: ::014::

ตามที่ผมวัดเองนะครับ
โคลท์กัฟเวิร์นเม็นท์ มาตรฐาน
รีคอยล์สปริง  สภาพปกติ 96.7 มม.  หดสุด 41.4 มม.


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สุพินท์ - รักในหลวง ที่ ธันวาคม 31, 2014, 02:32:13 PM
ส่วนสปริงนกสับ  นกลดชิดโครงปืน 33.8 มม.  นกง้างสุด 28.4 มม.


หัวข้อ: Re: สปริงรีคอยล์ 1911 แบบ variable rate น่าใช้ไหมครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tanate(รักในหลวง) ที่ มกราคม 01, 2015, 02:31:45 PM
ขอบคุณสำหรับข้อมูลครับท่านผู้การ หลังเทศกาลวันหยุดยาวจะเริ่มเขียนแบบครับ  ::014::  ::014::