๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
พฤษภาคม 07, 2024, 10:34:59 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เวบบอร์ดอวป.เป็นเพียงสื่อกลางช่วยให้ผู้ซื้อ และผู้ขาย ได้ติดต่อกันเท่านั้นและไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับประโยชน์หรือความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น
ประกาศหรือแบนเนอร์ในเวบไม่ใช่ตัวบ่งชี้ว่าสินค้านั้นมีคุณภาพหรือไม่
โปรดใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจซื้อด้วยตัวเอง
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 [2] 3 4
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: สำเร็จแล้วเครื่องอัดอากาศแรงดันสูงแบบมวลคงที่  (อ่าน 17049 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #15 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 12:14:05 PM »

จะทำการกรองน้ำและนำ้มันออกจาก อากาศแรงดันสูงสามารถทำได้โดยวิธีทางเคมีครับ

มีสารเคมีที่ใช้กันทั่วไปดังนี้ครับ
1.Activated Carbon
2.Molecular Sieve
หาซื้อไม่ยากครับ

Activated Carbon ในกรณีนี้ใช้สำหรับ ดักจับนำ้มันและกรองกลิ่น
Molecular Sieve ใช้จับความชื้นในอากาศแต่จะเริ่มปฎิริยาเมื่อ แรงดันตั่งแต่ 150 Bar ขึ้นไปครับ
จะกรองได้มากน้อยขึ้นอยู่กับระยะที่อากาศวิ่งผ่าน filter ตามสภาวะแรงดัน  

จากแบบ ลมควรจะวิ่งผ่าน filter (ที่ใส่สาร2ตัวนี้ก่อน) แล้วค่อยเข้าแทงค์ หรือ หลอดอากาศ
filter container ควรทนแรงดันมากกว่า300bar เพื่อความปลอดภัยครับ



ขอบพระคุณครับ สำหรับคำแนะนำอันมีค่า  ปัญหาเรื่องความชื้นและไอน้ำมันหมดไปแล้ว  สามารถทำการผลิตได้เลยแต่ต้องนำเครื่องต้นแบบมาทำการหาฟังชั่นการทำงานที่เหมาะสม  ก็ต้องอาศัยทานสมาิชิกช่วยกันวิจารณ์ละครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 17, 2011, 12:51:20 PM โดย pramuan » บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #16 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 03:33:35 PM »

สุดยอดครับ บวกให้อีกหนึ่งครับ  ไหว้

ขอปรึกษาอีกเรื่องหนึ่งครับ ถ้าเราเอาเครื่่องสูบลมรถตัวเล็กๆ (ใช้ไฟ 12 V) มาต่อหลายๆ เครื่อง จะสามารถเพิ่มแรงดันได้มั้ยครับ เพราะเครื่องนึงอัดได้ 15 บาร์ ถ้าเอาแรงดันที่ได้มาอัดเป็นทางอากาศเข้าของกระบอกสูบของกระบอกต่อไป แรงดันที่ออกจากกระบอกที่สองจะได้ 30 บาร์ใช่หรือเปล่าครับ

ได้เท่าเดิมครับ
บันทึกการเข้า
tan_tan
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 60
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 198



« ตอบ #17 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 04:06:05 PM »

ฝีมือคนไทยไม่แพ้ใครในโลก...
บันทึกการเข้า

เป็นเสืออยู่ในป่า  ดีกว่าเป็นหมาอยู่ในเมือง
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #18 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 06:52:05 PM »

ยินดีด้วยครับ ที่ต้นแบบสำเร็จแล้ว.. วันที่ 22 นี้ เอาตัวต้นแบบมาโชว์หน่อยไหมครับ..เผื่อว่าจะมีไอเดียเพิ่มเติมจากเพื่อนสมาชิกหลายๆท่านน่ะครับ..

รับราชการอยู่ต่างจังหวัด  คงนำไปแสดงไม่ได้ครับคงต้องดูจากเวปอย่างเดียว  น่าเสียดายจริงๆ
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #19 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 07:38:32 PM »

สำหรับขั้นตอนการทำงานของเครื่องต้องขอคำวิจารณ์ของทุกท่านนะครับ ขอให้ช่วยวิจารณ์กันมากๆเพื่อการพัฒนาครับ
ขั้นตอนในการอัดอากาศเข้าหลอดแก็สเพื่อเพิ่มแรงดัน(กรณ๊แรงดันในถัง O2ต่ำกว่าความต้องการ)

1. ตำแหน่งเริ่มต้นการทำงานวาล์วทุกตัวต้องปิดสนิทน้ำมันถูกเก็บไว้ในถังทั้งหมด
2. ประกอบหลอดแก็สเข้ากับตัวเครื่องตามภาพ
3. เปิดวาล์ว ถังวาล์ว A และวาล์ว B ตามลำดับ  อ่านค่าแรงดันที่ได้(แรงดันเริ่มต้น)
4. ปิดวาล์ว A  เพื่อทำการอัดอากาศ
5. โยก handpump พร้อมอ่านเกจน์วัดแรงดัน แรงดันจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆทุกครั้งที่โยก แรกๆจะเบาจนเอามือกดได้เมื่อแรงดันสูงขึ้นต้องใช้ด้ามต่อช่วย  ให้นึกถึงตอนโยกแม่แรงรถจะเห็นภาพ  โยกจนได้แรงดันที่ต้องการ  
6. ปิดวาล์วB  แล้วทำการถอดหลอดแก็สเพื่อใช้งาน
7. เปิดวาล์ว A  และ C ตามลำดับเพื่อทำการดันน้ำมันกลับถังพัก จนได้ยินเสียงอากาศไหลออกจึงเปิดวาล์ว C และ A ตามลำดับเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งพร้อมอัดต่อไป

การลดแรงดัน(ใช้ในกรณีที่แรงดันในถัง O2 สูงกว่าความต้องการ)
1. วาล์วทุกตัวอยู่ในตำแหน่งปิด
2. เปิดวาล์ว B ทำการอัดhandpump จนรู้สึกว่าเบา(หมายถึงน้ำมันในถังพักเข้าไปในระบบจนหมด)
3. ประกอบหลอดแก็สเข้ากับเครื่อง
4. เปิดวาล์ว A แล้วอ่านค่าแรงดันเมื่อแรงดันไม่เพิ่มขึ้นอีกให้ปิดวาล์ว A
5. เปิดวาล์ว C ช้าๆ พร้อมอ่านเกจน์วัดแรงดัน แรงดันจะค่อยๆต่ำลงเื่รื่อยๆ เมื่อได้แรงดันตามต้องการแล้วจึงปิดวาล์ว  C และวาล์ว B ตามลำดับ
6. ถอดหลอดแก็สที่มีแรงดันตามความต้องการนำไปใช้งานตามปรกติ


ต้องขอขอบพระคุณสมาชิกทุกท่านนะครับที่ช่วยการคิด และวิจารณ์  ผมรอคำวิจารณ์ของทุกท่านอยู่นะครับ  (ต้องการติดต่อเพื่อสอบถาม 0877175048)
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 25, 2011, 07:44:25 PM โดย pramuan » บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #20 เมื่อ: มกราคม 17, 2011, 08:04:44 PM »

สำหรับเครื่อง ราคาประมาณ 4500 บาท ราคาประมาณเนื่องจากยังไม่ได้สอบราคาวัสดุ   ช่วยวิจารณ์ราคาของเครื่องด้วยนะครับ

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 18, 2011, 12:36:39 PM โดย pramuan » บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
Thunder 65
Full Member
***

คะแนน 130
ออฟไลน์

กระทู้: 314



« ตอบ #21 เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 06:19:34 PM »

O2 Gas อันตรายครับ ยิ่งปืนที่ใช้โครงสร้างเป็นอลูมินั่มผสม ดูจากรูปครับ





ที่เหมาะสมเป็น N2 gas หรือ Argon gas ครับ

Nitrogen แม้จะไม่เฉื่อยมากนัก แต่อันตรายน้อยกว่า Oxygen ครับ

Argon เฉื่อยกว่าแต่ราคาแพงมากกว่าครับ 
บันทึกการเข้า

0.22  Weihrauch HW100T 0.177 Weihrauch HW100TK
0.22  Diana 54
0.22  Edgun R3M Standard
juon2001
Full Member
***

คะแนน 27
ออฟไลน์

กระทู้: 162


« ตอบ #22 เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 10:22:41 PM »

O2 Gas อันตรายครับ ยิ่งปืนที่ใช้โครงสร้างเป็นอลูมินั่มผสม ดูจากรูปครับ





ผมว่าถ้าเป็น O2 อย่างพี่ว่า ตูมแน่นอน ที่โรงผม ผู้รับเหมาเอาถัง O2 มาแต่เอาเกจของ H2 มาใส่ พอเปิดก็ตูมเลย เพราะมีน้ำมันอยู่ด้านในครับ แต่ยังโชคดีที่มี regurator อีกตัวหนึ่งทำให้รอดมาได้ครับ  มายืนยันว่า O2 เพียวๆ นี่ตูมแน่นอนครับพี่ เปลี่ยนมาใช้ Co2 ดีกว่าครับ N2 คงไม่เหมาะเพราะถ้าแรงดันสูงมากจะกลายเป็นของเหลวครับ หรือไม่งั้นก็ อากาศ ทั่วไปดีกว่าครับ ชื้นแต่ไม่ระเบิด

ที่เหมาะสมเป็น N2 gas หรือ Argon gas ครับ

Nitrogen แม้จะไม่เฉื่อยมากนัก แต่อันตรายน้อยกว่า Oxygen ครับ

Argon เฉื่อยกว่าแต่ราคาแพงมากกว่าครับ 
บันทึกการเข้า
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #23 เมื่อ: มกราคม 18, 2011, 10:48:25 PM »

ในภาพน่ากลัวมาก เป็นข้อเตือนใจสำหรับผู้ที่กำลังใช้งานก็าซนี้อยู่  สำหรับการออกแบบและการสร้างสิ่งใดสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับ 1 คือ  ความปลอดภัย และมองให้ออกว่าสิ่งที่กำลังทำอยู่มี"ปัจจัยที่ส่งผล"ใดบ้างที่ส่งผลถึงความปลอดภัย  ถ้าเราใช้สิ่งใดก็ต้องรู้จักสิ่งนั้นให้มากที่สุด  มากเท่าที่จะมากได้  ไม่หลอกตัวเอง และไม่ปิดกั้นตัวเองจากสิ่งที่ยังไม่รู้ แต่ก็ไม่ตั้งกำแพงสำหรับสิ่งที่เราไม่เห็นด้วย    ก่อนรับราชการกระผมเคยทำงานใน OEM   และได้ออกแบบ toolling มาพอสมควร พอเข้าใจคำว่า  FOS  และมั่นใจว่าถ้าผู้ใช้งานtoollingที่ผมออกแบบเข้าใจและปฏิบัติตามข้อกำหนดของค่าความเผื่อทั้งหลาย ไม่มีปัญหาแน่นอน สำหรับการออกแบบเครื่องนี้กระผมได้ทำการคำนวนเพื่อความปลอดภัยอย่างเต็มที่  ทั้งจากประสบการณ์ และการออกแบบตามการวิเคราะห์ของ CAD  ค่าความเผื่อออกแบบไ้ว้ไม่น้อยกว่า 75 เปอร์เซนต์ของคุณสมบัติของวัสดุขอให้มั่นใจได้ครับ ทุกวันนี้ก็อยู่ในอุตสาหกรรมทหาร ออกแบบทุกวัน  แต่ถ้ามีสิ่งใดที่ยังไม่มองไม่เห็นก็ยินดีรับคำแนะนำ   สำหรับการออกแบบความปลอดถัยของระบบถ้าเขียนแบบ 3D และทำการวิเคราะห์ด้วยคอมแล้วจะนำผลมาแสดงให้เกิดความมั่นใจครับ
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
Thunder 65
Full Member
***

คะแนน 130
ออฟไลน์

กระทู้: 314



« ตอบ #24 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 07:54:27 AM »

ผมว่าถ้าเป็น O2 อย่างพี่ว่า ตูมแน่นอน ที่โรงผม ผู้รับเหมาเอาถัง O2 มาแต่เอาเกจของ H2 มาใส่ พอเปิดก็ตูมเลย เพราะมีน้ำมันอยู่ด้านในครับ แต่ยังโชคดีที่มี regurator อีกตัวหนึ่งทำให้รอดมาได้ครับ  มายืนยันว่า O2 เพียวๆ นี่ตูมแน่นอนครับพี่ เปลี่ยนมาใช้ Co2 ดีกว่าครับ N2 คงไม่เหมาะเพราะถ้าแรงดันสูงมากจะกลายเป็นของเหลวครับ หรือไม่งั้นก็ อากาศ ทั่วไปดีกว่าครับ ชื้นแต่ไม่ระเบิด

ท่าน Juon2001 ครับ CO2 ที่อัดมามันถูกอัดในถังมาจะอยู่ในสถานะ Gas/Liquid  Phase อยู่แล้วนะครับ

ส่วน N2/Argon ทั่วๆไป จะอัดแรงดันสูงสุดมาที่ 150 Bar หรือประมาณ 2175 PSI 

ที่อเมริกา มีคนที่ใช้ปืน PCP ที่อัดด้วย N2 เยอะพอสมควร ที่โน่นเขาหาที่อัดได้ง่ายกว่าบ้านเรามากครับ

บันทึกการเข้า

0.22  Weihrauch HW100T 0.177 Weihrauch HW100TK
0.22  Diana 54
0.22  Edgun R3M Standard
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #25 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 08:39:47 AM »

ผมว่าถ้าเป็น O2 อย่างพี่ว่า ตูมแน่นอน ที่โรงผม ผู้รับเหมาเอาถัง O2 มาแต่เอาเกจของ H2 มาใส่ พอเปิดก็ตูมเลย เพราะมีน้ำมันอยู่ด้านในครับ แต่ยังโชคดีที่มี regurator อีกตัวหนึ่งทำให้รอดมาได้ครับ  มายืนยันว่า O2 เพียวๆ นี่ตูมแน่นอนครับพี่ เปลี่ยนมาใช้ Co2 ดีกว่าครับ N2 คงไม่เหมาะเพราะถ้าแรงดันสูงมากจะกลายเป็นของเหลวครับ หรือไม่งั้นก็ อากาศ ทั่วไปดีกว่าครับ ชื้นแต่ไม่ระเบิด

ท่าน Juon2001 ครับ CO2 ที่อัดมามันถูกอัดในถังมาจะอยู่ในสถานะ Gas/Liquid  Phase อยู่แล้วนะครับ

ส่วน N2/Argon ทั่วๆไป จะอัดแรงดันสูงสุดมาที่ 150 Bar หรือประมาณ 2175 PSI  

ที่อเมริกา มีคนที่ใช้ปืน PCP ที่อัดด้วย N2 เยอะพอสมควร ที่โน่นเขาหาที่อัดได้ง่ายกว่าบ้านเรามากครับ





[/quote]
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มกราคม 19, 2011, 08:43:58 AM โดย pramuan » บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
pramuan
ไม่เคืองแค้นน้อยใจในโชคชะตา ไม่เสียดายชีวาถ้าสิ้นไป
ชาว อวป.
Full Member
****

คะแนน 19
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 305


จักยอมตายหมายให้เกีรติดำรงจะปิดทองหลังองค์พระปฏิมา


« ตอบ #26 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 08:44:10 AM »

ผมว่าถ้าเป็น O2 อย่างพี่ว่า ตูมแน่นอน ที่โรงผม ผู้รับเหมาเอาถัง O2 มาแต่เอาเกจของ H2 มาใส่ พอเปิดก็ตูมเลย เพราะมีน้ำมันอยู่ด้านในครับ แต่ยังโชคดีที่มี regurator อีกตัวหนึ่งทำให้รอดมาได้ครับ  มายืนยันว่า O2 เพียวๆ นี่ตูมแน่นอนครับพี่ เปลี่ยนมาใช้ Co2 ดีกว่าครับ N2 คงไม่เหมาะเพราะถ้าแรงดันสูงมากจะกลายเป็นของเหลวครับ หรือไม่งั้นก็ อากาศ ทั่วไปดีกว่าครับ ชื้นแต่ไม่ระเบิด

กระผมออกแบบเครื่่องให้ใช้อากาศธรรมดาครับ  สงสัยใช้คำผิด

ท่าน Juon2001 ครับ CO2 ที่อัดมามันถูกอัดในถังมาจะอยู่ในสถานะ Gas/Liquid  Phase อยู่แล้วนะครับ

ส่วน N2/Argon ทั่วๆไป จะอัดแรงดันสูงสุดมาที่ 150 Bar หรือประมาณ 2175 PSI  

ที่อเมริกา มีคนที่ใช้ปืน PCP ที่อัดด้วย N2 เยอะพอสมควร ที่โน่นเขาหาที่อัดได้ง่ายกว่าบ้านเรามากครับ





[/quote]


กระผมออกแบบเครื่่องให้ใช้อากาศธรรมดาครับ  สงสัยใช้คำผิด
บันทึกการเข้า

กระสุนปืนใหญ่ของไทยตกที่ใด   ที่นั่นคือถิ่นไทย
AJ_6080
พระราม2 กทม.
Hero Member
*****

คะแนน 1600
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 5415


บารมี-มีได้เพราะความดี...


« ตอบ #27 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 09:13:44 AM »



คิดว่าในรูปเป็นถัง O2 แต่ภายในคงเป็นอากาศอัด ใช่ไหมครับ?

เมื่อก่อนผมก็ใช้ ไนโตรเจนเติมเข้ากระบอกลมปืนอยู่ประจำ..แบบต่อสายยิงโดยตลอด..เพราะได้ค่าแรงดันที่โรงงานเติมมาให้ที่ประมาณ 135 บาร์ครับ
บันทึกการเข้า

  ผมรักในหลวง...ครับ
Thunder 65
Full Member
***

คะแนน 130
ออฟไลน์

กระทู้: 314



« ตอบ #28 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 09:16:55 AM »

บรรยากาศที่เราหายใจกันอยู่ในขณะนี้มีส่วนผสมตามตารางนี้ครับ



อากาศที่อัดในถังดำน้ำก็มีส่วนผสมนี้เช่นเดียวกัน แต่มีการลดความชื้นในขั้นตอนการอัด

ส่วน O2,N2,CO2,Argon gas ที่บรรจุในถังได้จากการแยกในโรงงานผลิตครับ

เกรงจะเข้าใจผิดนำเอา O2 gas ที่บรรจุในถังมาอัด อันตรายมากครับ
บันทึกการเข้า

0.22  Weihrauch HW100T 0.177 Weihrauch HW100TK
0.22  Diana 54
0.22  Edgun R3M Standard
sitta.
Hero Member
*****

คะแนน 488
ออฟไลน์

กระทู้: 7275


« ตอบ #29 เมื่อ: มกราคม 19, 2011, 09:48:51 AM »

เห็นรูปปืนด้านบนทำให้ความอยากปืน PCP ลดลงไปอีกเยอะ
ผมคิดมานานแล้วครับ สำหรับปืน PCP ว่ามันเหมือนเรากำลังกอดระเบิดไว้กับตัว จะตูมเมื่อไหร่ก็ไม่รู้
จากภาพเป็นการระเบิดที่รุนแรงมาก หากปืนวางอยู่เฉย ๆ ก็ไม่เป็นไร แต่ถ้ากำลังประทับอยู่ก็น่าเป็นห่วง
ปืนรุ่นนี้ออกแบบมาทำให้ผมเป็นห่วงลึก ๆ แต่ไม่เคยพูดก็คือ ข้อแรก ท่ออัดลมมันมันมีปริมาณมากเกินไป
ถ้าอัดเต็มแล้วระเบิดก็จะรุนแรงกว่าปกติ  อีกข้อหนึ่งก็คือ ด้านล่างท่อไม่มีการ์ดป้องกันท่อ
หากพาดปืนแรงเกินไปความแข็งแรงของเกลียวท่อกับปืนอาจลดลง ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย

จำได้ลาง ๆ พอติดตาว่าถัง O2 เป็นสีเขียวนะ เวลาผมจะเติมก๊าซนี้จะต้องเอาถังเล็กไปกลิ้งบนน้ำแข็งให้เย็น
แล้วจึงเติมก๊าซเข้าไป พอเติมเข้าไปถังจะร้อนขึ้น  ถ้าไม่กลิ้งน้ำแข็งจะเติมได้น้อยกว่า

จากระบบตามภาพนี้ หากเราเปลี่ยนถังสีเขียวเป็นถังอากาศแบบดำน้ำแบบที่เราใช้กัน ผมก็ว่าเข้าท่าอยู่

ส่วนราคาตามที่กำหนดนั้นผมคิดว่าราคาก็เหมาะสมดีครับ  เพราะราคานี้อาจจะเผื่อตอนเข้ากระบวนการผลิตจริง ๆ แล้ว
จะมีอุปกรณ์ที่ทำไม่ได้มาตราฐานต้องทิ้งไป  ถ้าเลือกระหว่างลดราคาแล้วลดวัสดุ ผมว่าคงราคาหรือเพิ่มราคา
แล้วเพิ่มความแข็งแรงขึ้นไปอีกจะดีกว่า อย่าลืมว่ากิจกรรมที่ทำงานกับแรงดันสูง อันตรายมาก ชนิดห้ามไม่ให้ผู้ไม่มีความรู้หรือไม่ได้รับ
การอบรมเข้ามาปฏิบัติตามลำพังโดยเด็ดขาด  

สำหรับการบำรุงรักษา จะต้องมีแน่นอนครับ ของใช้ย่อมต้องมีการชำรุดทรุดโทรมมากน้อยไปตามภาระกิจ
ตรงช่วงแฮนด์ปั๊มกับ วาวล์C ควรสามารถแยกเป็นชิ้นได้ ผู้ใช้งานสามารถถอดประกอบเพื่อบำรุงรักษาด้วยตนเอง
มีคู่มือบำรุงรักษา ระบุขนาดของอะไหล่ที่เป็นซีลที่วาวล์ C กับ ซีลแฮนด์ปั๊ม เพื่อความสะดวกในการหาซื้ออะไหล่

บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2] 3 4
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.143 วินาที กับ 23 คำสั่ง