๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
พฤษภาคม 14, 2024, 05:17:40 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: อวป. มีจำหน่ายที่ สนามยิงปืนราชนาวี/สนามยิงปืนบางบัวทอง/สนามยิงปืนศรภ./
/สนามยิงปืนทอ./
สิงห์ทองไฟร์อาร์ม
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
โพลล์
คำถาม: ประเทศไทยควรจะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้หรือยังครับ
ควรมี เพราะจะได้ลดต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า - 71 (89.9%)
ยังไม่ควรมี เพราะเรายังไม่พร้อมด้านเทคโนโลยีนิวเคลียร์ - 8 (10.1%)
จำนวนผู้โหวตทั้งหมด: 77

หน้า: 1 ... 3 4 5 [6]
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ประเทศไทยควรจะมีโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ได้หรือยังครับ  (อ่าน 9651 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
todsagun
Sr. Member
****

คะแนน 57
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 983


« ตอบ #75 เมื่อ: กันยายน 24, 2009, 07:33:08 PM »

Ummmm

ค่อย ๆ เติมให้ นะ ครับ


ผมพยายามทำความเข้าใจกับการอธิบายในรูปแบบคลิ๊ปที่ท่านdeang นำมาให้ศึกษา..
แต่มันยากเกินไป..สำหรับผม..เพราะภาษาอังกฤษผมแย่มากเลย..
แต่ในคลิ๊ปEPR nuclear reactor   ..ผมเห็นมีการใช้ของเหลวมาเป็นตัวกลางในการทำปฏิกริยา..
ผมอยากรู้เพิ่มอีกนิดว่่า..ของเหลวที่นำมาใช้ในกระบวนการนี้..คืออะไรครับ..? ไหว้
บันทึกการเข้า

คุยเล่น เน้นฮา สาระไม่มี..ครับผม..
deang
Sr. Member
****

คะแนน 72
ออฟไลน์

กระทู้: 861


....


เว็บไซต์
« ตอบ #76 เมื่อ: กันยายน 24, 2009, 09:24:50 PM »

Ummmm

แต่ในคลิ๊ปEPR nuclear reactor   ..ผมเห็นมีการใช้ของเหลวมาเป็นตัวกลางในการทำปฏิกริยา..
ผมอยากรู้เพิ่มอีกนิดว่่า..ของเหลวที่นำมาใช้ในกระบวนการนี้..คืออะไรครับ..?


แนวความคิดในการออกแบบ reactor มี 3 แบบ หลัก ๆ คือ

1  Heavy Water Recator   CANDU   ของ แคนนาดา จะใช่ natural U สกัด (extract) จาก       
    ธรรมชาติโดย  ตรง แต่ อัตราการ ดูดจับนิวตรอน (ที่ใช้ชน U ให้แตก) มาก จะต้องหล่อเย็น ด้วย น้ำ
    ชนิด     หนัก         heavy water เพื่อ ลดอัตราการดูดจับนิวตรอน

2   LIGHT water reactor จาก ค่าย USA    ใช้ ยูเรเนียม ที่ upgrade ทำให้ % u-235 เพิ่มขึ้นเป็น 3-5% (โดยปกติ ใน  Nat U มี ปริมาณ U235 แค่ 0.71 % ... 99.29% เป็น U238)  ทำให้การ แตกตัวง่าย
     กว่า natural U  จะใช้ น้ำ บริสุทธิ์ เป็นตัวหล่อเย็น แม้ว่าจะจับนิวตรอนได้เก่งกว่า HW....
     EPR ก็ เช่นกัน เป็น LWR      LWR มี 2 แบบ

                    2.1        แบบ น้ำเดือด ในตัว คล้ายหม้อต้มน้ำ โรงสี โรงจักรไอน้ำ ทั่วไป

                    2.2        แบบแรงดันสูง  (presurize ) วง loop แรก จะเป็นน้ำไม่เดือด อุณหภูมิสูง
                                 เกิน 100 ความดัน่สูง พาความร้อน ออกจาก reactor ไป แลกความร้อน
                                 ให้ loop ที่สอง แล้วไป ลดความดันลง กลายเป็นไอ ไป หมุน กังหันต่อไป

3   Fast Breeder  Reactor  จาก ค่าย ยุโรป ใช้ graphite เป็นตัวหน่วง ใช้ gas หรือ โลหะ เหลว
     เป็นตัวหล่อเย็น  reactor ชนิด ชี้ เหมาะ ที่จะ ใช้ เพาะปริมาณ Pu239  เพื่อ เอาไปสร้าง
     ระเบิด นิวเคลียร์


ที่น่าจับ ตา คือ ค่าย โรตี  ... ทำ เองได้หมด ทุกชิ้น ทุก แบบ

ตัวหน่วง จะหน่วงให้ นิวตรอนช้าลง เพื่อให้เข้าชน U-235 ตัวต่อ ๆ ไป ได้ ถนัด ๆ

โดย ที hit ๆ ตัวหน่วง (moderator) ได้  light water   heavy water    graphite

ตัวหล่อ เย็น นอกจาก LW HW  ยังมี liquid metal อย่าง NaK (Sodium Potasium) gas cool

มักใช้ กาซ ฮีเลียม
               

         



« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 24, 2009, 09:28:11 PM โดย deang » บันทึกการเข้า

FBook   prasop tongtawat
deang
Sr. Member
****

คะแนน 72
ออฟไลน์

กระทู้: 861


....


เว็บไซต์
« ตอบ #77 เมื่อ: กันยายน 25, 2009, 10:47:40 AM »

Ummm

การเตรียมความพร้อม รับ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มิติใหม่ ที่ ไม่เคย ปรากฏ ในประเทศไทย

RMUTT .. มทร  ธัญบุรี ร่วมกับ Kyoto University จัดอบรม เรื่อง เกี่ยวโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ในหัวเรื่อง –   Nuclear Power Plant & Reguration
                  - Nuclear Reactor Safety 1-2-3-4      (4ตอน)
                  - Nuclear Reactor Physics 1-2-3        (3 ตอน)
     - Reactor Thermodynamics 1-2
       - Nuclear Fuel Cycle System
     - Nuclear Fuel Engineering 1-2
                  - Nuclear Reactor Material 1-2
                  -  Wasted Nuclear Reprocessing & N waste Disposal
                  - Radiation Measurement 1-2
                  - Radiation Biology & Radiology 1-2
    และ อื่น ๆ

แค่ เห็นหัวข้อ ก็ ขนหัวลุก แล้ว วิทยากร เป็น Prof จาก ญี่ปุ่น ทั้งหมด

ท่านใดสนใจ ติดต่อ suchart1111@hotmail.com
อบรมฟรี ครับ  7 พย –8 มค
เฉพาะ ศุกร์ บ่าย    เสาร์ เต็มวัน   
บันทึกการเข้า

FBook   prasop tongtawat
หน้า: 1 ... 3 4 5 [6]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.082 วินาที กับ 23 คำสั่ง