๏ฟฝ๏ฟฝ็บบ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝสน๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝ๏ฟฝาปืน
พฤษภาคม 03, 2024, 05:44:17 AM *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
ข่าว: เว็บบอร์ด อวป. สามารถเข้าได้ทั้งสองทาง คือ www.gunsandgames.com และ www.gunsandgames.net ครับ
 
   หน้าแรก   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
หน้า: 1 ... 17 18 19 [20] 21 22 23 ... 37
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: Gorget เกราะสมัยไอเวนโฮ ที่กลับมาในศตวรรษที่ 22  (อ่าน 82275 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #285 เมื่อ: เมษายน 30, 2016, 09:06:16 PM »

  พระเจ้าอุทุมพรสวรรคตที่ใดครับ

ในพม่า ทางตอนเหนือแถบเมืองมัณฑะเลย์
หลังเสียกรุงใน พ.ศ.2310 พระองค์ถูกนำไปพม่า  ต่อมาได้บวช และพงศาวดารพม่าระบุว่าสวรรคตในเพศบรรพชิตเมื่อ พ.ศ.2339  แต่จะเป็นการนับ พ.ศ.แบบพม่าหรือแบบไทย ยังไม่ทราบ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #286 เมื่อ: เมษายน 30, 2016, 09:23:34 PM »

เจดีย์หรือสถูปที่ว่า  อยู่ใกล้หมู่บ้านเมงตาสี ภาษาพม่าที่แปลว่า as prince ซึ่งในหมู่บ้านนี้ยังคงมีธรรมเนียมไทย เช่นการขนทรายเข้าวัด ที่แตกต่างจากธรรมเนียมพม่า  แต่พูดไทยกันไม่ได้แล้ว ชาวบ้านรับรู้ว่าตัวเองเป็นโยเดีย ไปจากอยุธยา
ที่เป็นประเด็นขึ้นมา  ก็เพราะว่าสถูปในภาพ สถาปัตยกรรมไม่ใช่แบบพม่าหรือแบบมอญ  คนแถวนั้นก็เลยเรียกว่า Yodia Zedi

กฎหมายพม่าห้ามขุดโบราณสถาน  เมื่อปรากฏข่าวนี้  คณะทำงานจากกรมศิลปากร (ทราบว่าไม่ได้ไปเป็นทางการ) จึงประสานงานขออนุญาตเป็นกรณีพิเศษ  และเมื่อขุดไปก็ไม่พบอะไร   ต่อมาคณะทำงานนี้ได้สำรวจต่อไปอีกระยะหนึ่ง และพบอัฐิธาตุบรรจุอยู่ในโกศซึ่งมีลักษณะคล้ายบาตร วางบนพานแว่นฟ้า อยู่บริเวณนั้น  ไม่มีพลักฐานยืนยันว่าเป็นของพระเจ้าอุทุมพร
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10061



« ตอบ #287 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 12:27:56 AM »

แบบนี้เมืองไทยมีด้วยเหรอ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #288 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 12:20:21 PM »

แบบนี้เมืองไทยมีด้วยเหรอ

คนพม่าก็คงพูดคล้าย ๆ แบบนี้  ถึงเรียกเจดีย์แบบอยุธยา
บันทึกการเข้า
Ghost of the darkness
Sr. Member
****

คะแนน -487
ออฟไลน์

กระทู้: 891



« ตอบ #289 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 04:53:18 PM »

  ชอบอิฐมอญที่ใช้ก่อเจดีย์ใหญ่ได้ใจ ทนแดดทนฝน เดี๋ยวนี้เหลือก้อนเล็กลงกว่าเดิมมากโข
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #290 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 07:28:11 PM »

ทำไมถึงเรียกว่าอิฐมอญครับ
บันทึกการเข้า
Ghost of the darkness
Sr. Member
****

คะแนน -487
ออฟไลน์

กระทู้: 891



« ตอบ #291 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 08:22:56 PM »

   เรียกตามช่างครับ สงสัยคนมอญจะมีทักษะทางนี้ เหมือนจะเรียนมาจากอินเดียรึเปล่าครับ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #292 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 09:14:26 PM »

   เรียกตามช่างครับ สงสัยคนมอญจะมีทักษะทางนี้ เหมือนจะเรียนมาจากอินเดียรึเปล่าครับ

ถ้านับย้อนไปถึงอิฐตากแห้ง (dried brick) ที่ยังไม่มีการเผา ก็เกินหมื่นปีละครับ  ส่วนอิฐเผา น่าจะเป็นเทคโนโลยีที่มาจากจีน
ที่น่าสนใจก็คือ  อิฐในเมืองไทย ที่พบในยุคทวาราวดี  ทำจากแกลบข้าวเหนียวทั้งหมด  อิฐที่ใช้แกลบข้าวเจ้า เพิ่งมีในสมัยอยุธยา
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10061



« ตอบ #293 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 11:48:20 PM »

ทราบมาว่าเมื่อก่อนเรากินข้าวเหนียวส่วนข้าวจ้าวเป็นของที่พวกชนชั้นสูงกินกันไม่รู้ว่าจริงไหม
บันทึกการเข้า
Ghost of the darkness
Sr. Member
****

คะแนน -487
ออฟไลน์

กระทู้: 891



« ตอบ #294 เมื่อ: พฤษภาคม 01, 2016, 11:55:01 PM »

   เป็นสูตรผสมโบราณ เชิงช่างไม่น่าเชื่อว่าทนกว่าบ้านสมัยใหม่ เหมือนกำแพงเมืองเก่าในเวียดนามใช้น้ำผึ้งเป็นส่วนผสมเพิ่มความแข็งแรงให้ทนแรงกระสุนปืน อันนี้ฟังมาจากรายการพวกถามตอบครับ
บันทึกการเข้า
สุพินท์ - รักในหลวง
Guns & Games Staff
Hero Member
*****

คะแนน 3539
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 12902



« ตอบ #295 เมื่อ: พฤษภาคม 02, 2016, 10:21:15 AM »

ทราบมาว่าเมื่อก่อนเรากินข้าวเหนียวส่วนข้าวจ้าวเป็นของที่พวกชนชั้นสูงกินกันไม่รู้ว่าจริงไหม

ชื่อก็บอกแล้วไงละครับ  ว่าเป็นข้าวสำหรับเจ้านายกิน
พันธุ์ข้าวเจ้า นำเข้ามาจากอินเดีย และจะปลูกในนาหลวง   ซึ่งต่อมาเป็นสนามหลวง  และค่อย ๆ เผยแพร่ให้กับสามัญชน
แสดงว่าคนไทยสมัยก่อน  เปิบข้าวเหนียวกันเป็นหลัก

ตัวอย่างชัดเจนคือทางใต้  ที่มีการทำข้าวเหนียวในงานมงคล คือของหวานจะใช้ข้าวเหนียวเป็นปกติอยู่แล้ว   แต่อาหารคาว เขาทำเป็นเครื่องเซ่นผีบรรพชนในงานมงคล โดยเฉพาะงานแต่งงาน  เพราะบรรพชนเสียชีวิตไปก่อนมีข้าวเจ้า  กินข้าวเจ้าไม่เป็น

ปัจจุบันธรรมเนียมนี้อาจจะจางไปบ้าง  แต่คำว่า "กินเหนียว" ยังใช้กันอยู่   อย่างเช่นถ้าผู้ใหญ่ถามว่า "กินเนี่ยวยัง" แปลว่า "แต่งงานหรือยัง"
บันทึกการเข้า
Yut64
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 7670
ออฟไลน์

กระทู้: 10061



« ตอบ #296 เมื่อ: พฤษภาคม 02, 2016, 01:21:59 PM »

ทราบมาว่าเมื่อก่อนเรากินข้าวเหนียวส่วนข้าวจ้าวเป็นของที่พวกชนชั้นสูงกินกันไม่รู้ว่าจริงไหม

ชื่อก็บอกแล้วไงละครับ  ว่าเป็นข้าวสำหรับเจ้านายกิน
พันธุ์ข้าวเจ้า นำเข้ามาจากอินเดีย และจะปลูกในนาหลวง   ซึ่งต่อมาเป็นสนามหลวง  และค่อย ๆ เผยแพร่ให้กับสามัญชน
แสดงว่าคนไทยสมัยก่อน  เปิบข้าวเหนียวกันเป็นหลัก

ตัวอย่างชัดเจนคือทางใต้  ที่มีการทำข้าวเหนียวในงานมงคล คือของหวานจะใช้ข้าวเหนียวเป็นปกติอยู่แล้ว   แต่อาหารคาว เขาทำเป็นเครื่องเซ่นผีบรรพชนในงานมงคล โดยเฉพาะงานแต่งงาน  เพราะบรรพชนเสียชีวิตไปก่อนมีข้าวเจ้า  กินข้าวเจ้าไม่เป็น

ปัจจุบันธรรมเนียมนี้อาจจะจางไปบ้าง  แต่คำว่า "กินเหนียว" ยังใช้กันอยู่   อย่างเช่นถ้าผู้ใหญ่ถามว่า "กินเนี่ยวยัง" แปลว่า "แต่งงานหรือยัง"

ถ้าอย่างนั้นกงเต้ก iPhone iPad ทั้งหลายที่ส่งไปให้บรรพชนก็ไม่มีประโยชน์เลย ท่านๆเหล่านั้นไม่รู้จัก
บันทึกการเข้า
srimalai_รักในหลวง
คนธรรมดา
ชาว อวป.
Hero Member
****

คะแนน 183
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 3381


« ตอบ #297 เมื่อ: พฤษภาคม 02, 2016, 02:20:15 PM »

ทราบมาว่าเมื่อก่อนเรากินข้าวเหนียวส่วนข้าวจ้าวเป็นของที่พวกชนชั้นสูงกินกันไม่รู้ว่าจริงไหม


ชื่อก็บอกแล้วไงละครับ  ว่าเป็นข้าวสำหรับเจ้านายกิน
พันธุ์ข้าวเจ้า นำเข้ามาจากอินเดีย และจะปลูกในนาหลวง   ซึ่งต่อมาเป็นสนามหลวง  และค่อย ๆ เผยแพร่ให้กับสามัญชน
แสดงว่าคนไทยสมัยก่อน  เปิบข้าวเหนียวกันเป็นหลัก

ตัวอย่างชัดเจนคือทางใต้  ที่มีการทำข้าวเหนียวในงานมงคล คือของหวานจะใช้ข้าวเหนียวเป็นปกติอยู่แล้ว   แต่อาหารคาว เขาทำเป็นเครื่องเซ่นผีบรรพชนในงานมงคล โดยเฉพาะงานแต่งงาน  เพราะบรรพชนเสียชีวิตไปก่อนมีข้าวเจ้า  กินข้าวเจ้าไม่เป็น

ปัจจุบันธรรมเนียมนี้อาจจะจางไปบ้าง  แต่คำว่า "กินเหนียว" ยังใช้กันอยู่   อย่างเช่นถ้าผู้ใหญ่ถามว่า "กินเนี่ยวยัง" แปลว่า "แต่งงานหรือยัง"

ถ้าอย่างนั้นกงเต้ก iPhone iPad ทั้งหลายที่ส่งไปให้บรรพชนก็ไม่มีประโยชน์เลย ท่านๆเหล่านั้นไม่รู้จัก
สตีฟ จอบส์ อาจเอาไปแนะนำเผยแพร่ แล้ว
บันทึกการเข้า

อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก  แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย
แม้นเจ็บอื่นหมื่นแสนก็แคลนคลาย  เจ็บจนตายนั้นเหน็บให้เจ็บใจ
เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก  จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา  จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ
แปจีหล่อ คนสันขวาน
Hero Member
*****

คะแนน 6335
ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 8369



« ตอบ #298 เมื่อ: พฤษภาคม 02, 2016, 02:59:10 PM »

   เรียกตามช่างครับ สงสัยคนมอญจะมีทักษะทางนี้ เหมือนจะเรียนมาจากอินเดียรึเปล่าครับ

ถ้านับย้อนไปถึงอิฐตากแห้ง (dried brick) ที่ยังไม่มีการเผา ก็เกินหมื่นปีละครับ  ส่วนอิฐเผา น่าจะเป็นเทคโนโลยีที่มาจากจีน
ที่น่าสนใจก็คือ  อิฐในเมืองไทย ที่พบในยุคทวาราวดี  ทำจากแกลบข้าวเหนียวทั้งหมด  อิฐที่ใช้แกลบข้าวเจ้า เพิ่งมีในสมัยอยุธยา
อิฐเผาแล้วเค้ารู้ได้ยังไงครับว่าใช้แกลบข้าวเหนียวหรือแกลบข้าวเจ้าทำครับ
บันทึกการเข้า

สีกากีเป็นสีของดิน ข้าราชการควรต้องติดดิน ออกพื้นที่รับฟังปัญหาของชาวบ้าน ข้าราชการคือ ข้าที่ทำกิจการต่างๆให้กับพระราชา เครื่องแบบข้าราชการสีกากีคือสีแห่งข้ารับใช้แผ่นดิน
R2D2
ท้าเยาะเย้ยทุกข์ยากขวากหนามลำเค็ญ
Hero Member
*****

คะแนน 370
ออฟไลน์

กระทู้: 6107



« ตอบ #299 เมื่อ: พฤษภาคม 02, 2016, 04:11:31 PM »

ทราบมาว่าเมื่อก่อนเรากินข้าวเหนียวส่วนข้าวจ้าวเป็นของที่พวกชนชั้นสูงกินกันไม่รู้ว่าจริงไหม
ชื่อก็บอกแล้วไงละครับ  ว่าเป็นข้าวสำหรับเจ้านายกิน พันธุ์ข้าวเจ้า นำเข้ามาจากอินเดีย และจะปลูกในนาหลวง   ซึ่งต่อมาเป็นสนามหลวง  และค่อย ๆ เผยแพร่ให้กับสามัญชนแสดงว่าคนไทยสมัยก่อน  เปิบข้าวเหนียวกันเป็นหลักตัวอย่างชัดเจนคือทางใต้  ที่มีการทำข้าวเหนียวในงานมงคล คือของหวานจะใช้ข้าวเหนียวเป็นปกติอยู่แล้ว   แต่อาหารคาว เขาทำเป็นเครื่องเซ่นผีบรรพชนในงานมงคล โดยเฉพาะงานแต่งงาน  เพราะบรรพชนเสียชีวิตไปก่อนมีข้าวเจ้า  กินข้าวเจ้าไม่เป็นปัจจุบันธรรมเนียมนี้อาจจะจางไปบ้าง  แต่คำว่า "กินเหนียว" ยังใช้กันอยู่   อย่างเช่นถ้าผู้ใหญ่ถามว่า "กินเนี่ยวยัง" แปลว่า "แต่งงานหรือยัง"
คนปักษ์ใต้สมัยก่อนใช้ข้าวเหนียวทำขนมเลี้ยงแขก เลี้ยงพระในงานแต่งงาน เช่น ข้าวเหนียวถั่วดำ,ข้าวเหนียวหน้าสังขยา..ฯลฯ ถือเป็นของหวานชั้นดีแล้ว นาน ๆ ถึงจะได้กิน คำว่าได้กินเหนียว(เหนียว=ข้าวเหนียว)จึงเป็นคำสแลงหมายถึงการแต่งงาน..(ที่จริงงานอื่น เช่นบวชนาคก็ใช้ข้าวเหนียวทำขนมเลี้ยงแขกเหมือนกันนิ-คงเพราะทำง่ายและไม่สิ้นเปลืองมากนัก)..มีคำตรงข้ามคือ..ไม่ได้กินเหนียว..หมายถึงลูกสาวที่ไม่ได้ตบไม่ได้แต่ง..เพราะหนีตามไอ้หนุ่มไป ให้พ่อแม่ขายหน้าชาวบ้าน..ปกติเรียกพฤติกรรมนี้ว่า..ตามผัว..ครับ      
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 17 18 19 [20] 21 22 23 ... 37
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.18 | SMF © 2011, Simple Machines Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.163 วินาที กับ 21 คำสั่ง